คณะรัฐมนตรีรับทราบตามที่สำนักนายกรัฐมนตรีรายงานข้อเสนอสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ดังนี้
ข้อเสนอของสภาที่ปรึกษาฯ ข้อพิจารณาของรัฐบาล
1. ขอความร่วมมือจากรัฐบาลให้มีการจัดกิจกรรมและ ควรให้การสนับสนุนได้ โดยอาจใช้ช่องทางอื่น
เผยแพร่ผลงานสำคัญทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ ช่อง 11 ได้ด้วยตามความจำเป็น
ได้ตามสมควร ผู้รับผิดชอบ รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
(นายสุรนันทน์ เวชชาชีวะ)
2. ขอให้เชิญผู้แทนสภาที่ปรึกษาฯ เข้าร่วมงานที่เป็น ควรดำเนินการได้ เช่น งานสโมสรสันนิบาต
พระราชพิธีและรัฐพิธีด้วยตามความเหมาะสม งานสวนสนามของทหารรักษาพระองค์ โดยอาจ
ระบุจำนวนหรือโควต้าตามความเหมาะสมแต่ละคราว
ส่วนงานพระราชพิธีจะประสานงานกับสำนักพระราชวังให้
ผู้รับผิดชอบ สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
ข้อเสนอของสภาที่ปรึกษาฯ ข้อพิจารณาของรัฐบาล
3. เมื่อสภาที่ปรึกษาฯ มีข้อเสนอแนะอย่างใดให้รัฐบาล ควรดำเนินการได้ ในทางปฏิบัติก็สามารถทำได้อยู่แล้ว
หรือส่วนราชการรับไปพิจารณาควรให้ผู้แทนสภาที่ปรึกษาฯ ควรแจ้งเวียนขอความร่วมมือจากส่วนราชการซ้ำอีก
ติดตามความก้าวหน้าได้โดยตรง ผู้รับผิดชอบ สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีและทุกกระทรวง
4. ขอให้คณะรัฐมนตรีส่งเรื่องที่เป็นนโยบายให้สภาที่ ปรึกษาฯ คณะรัฐมนตรีเคยมีมติแล้วเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2548 ให้
พิจารณาเสนอแนะมากขึ้น ทุกกระทรวงคำนึงถึงอำนาจหน้าที่ของสภาที่ปรึกษาฯ
ตามมาตรา 17 ด้วย ในกรณีมีปัญหาสำคัญ กระทรวง
จึงอาจขอให้คณะรัฐมนตรีมีมติให้ส่งเรื่องไปยังสภาที่ปรึกษาฯ
เพื่อขอความเห็นแบบ outside in ให้มากขึ้น
ผู้รับผิดชอบ ทุกกระทรวง
5. สภาที่ปรึกษาฯ ขอประสานโดยตรงกับหน่วยงานของรัฐบาล ควรดำเนินการได้ เพราะบทบาทของสภาที่ปรึกษาฯ
เป็นเรื่องการศึกษาและให้ความเห็นชอบ ไม่ใช่
การสอบสวน จึงจำเป็นต้องมีข้อมูลที่ทันสมัยและครบถ้วน
แต่การประสานโดยตรงควรทำกับระดับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติของ
ส่วนราชการ ไม่ใช่กับระดับนโยบายเว้นแต่เป็นเรื่องสำคัญ
ที่ทำในนามของสภาที่ปรึกษาฯ จึงให้ประสานในระดับนโยบาย
ผู้รับผิดชอบ ทุกกระทรวง
6. ขอให้รัฐบาลพิจารณาเสนอชื่อผู้แทนสภาที่ปรึกษาฯ เป็น ควรดำเนินการได้ แม้แต่ร่างกฎหมายอื่นที่สภาที่ปรึกษาฯ
กรรมาธิการวิสามัญร่วมพิจารณาร่างกฎหมายที่สภาที่ปรึกษาฯ ไม่ได้มี ส่วนเสนอ ก็อาจพิจารณาแต่งตั้งจากสมาชิกสภาที่ปรึกษาฯ
มีส่วนเสนอบ้าง ที่มีความรู้ โดยจะประสานกับทางสภาที่ปรึกษาฯ ต่อไป
ในขณะนี้ตามระเบียบว่าด้วยโครงการ Mega Project
ก็ให้มีผู้แทนสภาที่ปรึกษาฯ ร่วมเป็นกรรมการระดับนโยบาย
ด้วยแล้ว
ผู้รับผิดชอบ ทุกกระทรวง และ ปสส.
7. ขอให้มีการประชุมหารือระหว่างนายกรัฐมนตรีกับสภาที่ปรึกษาฯ ควรดำเนินการได้ นายกรัฐมนตรีได้เสนอแล้วว่ารอบหกเดือน
อย่างสม่ำเสมอ แรกให้สภาที่ปรึกษาฯ เป็นเจ้าภาพ รอบหกเดือนต่อไปให้
คณะรัฐมนตรีเป็นเจ้าภาพ หัวข้อการหารือควรครอบคลุมทั้ง
เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง
ผู้รับผิดชอบ สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
8 ขอให้รัฐบาลจัดงบประมาณเพิ่มเติมให้สภาที่ปรึกษาฯ ตาม ควรดำเนินการได้ นายกรัฐมนตรีได้แจ้งแล้วว่าสภาที่ ปรึกษาฯ
ความจำเป็น ควรมีการลงศึกษาในพื้นที่จริงให้มากขึ้น อันจะทำให้ได้ข้อมูล
ชัดเจนเป็นประโยชน์ต่อการเสนอความเห็นไปยังรัฐบาล
จึงอาจต้องใช้งบประมาณบ้าง
ผู้รับผิดชอบ สำนักงบประมาณ
ทั้งนี้ ถือเป็นการเริ่มต้นที่ดี การทำงานของสภาที่ปรึกษาฯ ในฐานะผู้ให้คำปรึกษาและข้อเสนอต่อคณะรัฐมนตรี จะบังเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น สมดังเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ มาตรา 89
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ชุดพ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร) วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2549--จบ--
ข้อเสนอของสภาที่ปรึกษาฯ ข้อพิจารณาของรัฐบาล
1. ขอความร่วมมือจากรัฐบาลให้มีการจัดกิจกรรมและ ควรให้การสนับสนุนได้ โดยอาจใช้ช่องทางอื่น
เผยแพร่ผลงานสำคัญทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ ช่อง 11 ได้ด้วยตามความจำเป็น
ได้ตามสมควร ผู้รับผิดชอบ รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
(นายสุรนันทน์ เวชชาชีวะ)
2. ขอให้เชิญผู้แทนสภาที่ปรึกษาฯ เข้าร่วมงานที่เป็น ควรดำเนินการได้ เช่น งานสโมสรสันนิบาต
พระราชพิธีและรัฐพิธีด้วยตามความเหมาะสม งานสวนสนามของทหารรักษาพระองค์ โดยอาจ
ระบุจำนวนหรือโควต้าตามความเหมาะสมแต่ละคราว
ส่วนงานพระราชพิธีจะประสานงานกับสำนักพระราชวังให้
ผู้รับผิดชอบ สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
ข้อเสนอของสภาที่ปรึกษาฯ ข้อพิจารณาของรัฐบาล
3. เมื่อสภาที่ปรึกษาฯ มีข้อเสนอแนะอย่างใดให้รัฐบาล ควรดำเนินการได้ ในทางปฏิบัติก็สามารถทำได้อยู่แล้ว
หรือส่วนราชการรับไปพิจารณาควรให้ผู้แทนสภาที่ปรึกษาฯ ควรแจ้งเวียนขอความร่วมมือจากส่วนราชการซ้ำอีก
ติดตามความก้าวหน้าได้โดยตรง ผู้รับผิดชอบ สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีและทุกกระทรวง
4. ขอให้คณะรัฐมนตรีส่งเรื่องที่เป็นนโยบายให้สภาที่ ปรึกษาฯ คณะรัฐมนตรีเคยมีมติแล้วเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2548 ให้
พิจารณาเสนอแนะมากขึ้น ทุกกระทรวงคำนึงถึงอำนาจหน้าที่ของสภาที่ปรึกษาฯ
ตามมาตรา 17 ด้วย ในกรณีมีปัญหาสำคัญ กระทรวง
จึงอาจขอให้คณะรัฐมนตรีมีมติให้ส่งเรื่องไปยังสภาที่ปรึกษาฯ
เพื่อขอความเห็นแบบ outside in ให้มากขึ้น
ผู้รับผิดชอบ ทุกกระทรวง
5. สภาที่ปรึกษาฯ ขอประสานโดยตรงกับหน่วยงานของรัฐบาล ควรดำเนินการได้ เพราะบทบาทของสภาที่ปรึกษาฯ
เป็นเรื่องการศึกษาและให้ความเห็นชอบ ไม่ใช่
การสอบสวน จึงจำเป็นต้องมีข้อมูลที่ทันสมัยและครบถ้วน
แต่การประสานโดยตรงควรทำกับระดับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติของ
ส่วนราชการ ไม่ใช่กับระดับนโยบายเว้นแต่เป็นเรื่องสำคัญ
ที่ทำในนามของสภาที่ปรึกษาฯ จึงให้ประสานในระดับนโยบาย
ผู้รับผิดชอบ ทุกกระทรวง
6. ขอให้รัฐบาลพิจารณาเสนอชื่อผู้แทนสภาที่ปรึกษาฯ เป็น ควรดำเนินการได้ แม้แต่ร่างกฎหมายอื่นที่สภาที่ปรึกษาฯ
กรรมาธิการวิสามัญร่วมพิจารณาร่างกฎหมายที่สภาที่ปรึกษาฯ ไม่ได้มี ส่วนเสนอ ก็อาจพิจารณาแต่งตั้งจากสมาชิกสภาที่ปรึกษาฯ
มีส่วนเสนอบ้าง ที่มีความรู้ โดยจะประสานกับทางสภาที่ปรึกษาฯ ต่อไป
ในขณะนี้ตามระเบียบว่าด้วยโครงการ Mega Project
ก็ให้มีผู้แทนสภาที่ปรึกษาฯ ร่วมเป็นกรรมการระดับนโยบาย
ด้วยแล้ว
ผู้รับผิดชอบ ทุกกระทรวง และ ปสส.
7. ขอให้มีการประชุมหารือระหว่างนายกรัฐมนตรีกับสภาที่ปรึกษาฯ ควรดำเนินการได้ นายกรัฐมนตรีได้เสนอแล้วว่ารอบหกเดือน
อย่างสม่ำเสมอ แรกให้สภาที่ปรึกษาฯ เป็นเจ้าภาพ รอบหกเดือนต่อไปให้
คณะรัฐมนตรีเป็นเจ้าภาพ หัวข้อการหารือควรครอบคลุมทั้ง
เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง
ผู้รับผิดชอบ สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
8 ขอให้รัฐบาลจัดงบประมาณเพิ่มเติมให้สภาที่ปรึกษาฯ ตาม ควรดำเนินการได้ นายกรัฐมนตรีได้แจ้งแล้วว่าสภาที่ ปรึกษาฯ
ความจำเป็น ควรมีการลงศึกษาในพื้นที่จริงให้มากขึ้น อันจะทำให้ได้ข้อมูล
ชัดเจนเป็นประโยชน์ต่อการเสนอความเห็นไปยังรัฐบาล
จึงอาจต้องใช้งบประมาณบ้าง
ผู้รับผิดชอบ สำนักงบประมาณ
ทั้งนี้ ถือเป็นการเริ่มต้นที่ดี การทำงานของสภาที่ปรึกษาฯ ในฐานะผู้ให้คำปรึกษาและข้อเสนอต่อคณะรัฐมนตรี จะบังเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น สมดังเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ มาตรา 89
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ชุดพ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร) วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2549--จบ--