คณะรัฐมนตรีรับทราบตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รายงานสถานการณ์ในช่วงฤดูแล้งปี 2549 ด้านการเกษตร (ช่วงวันที่
31 มีนาคม ถึง 6 เมษายน 2549) ประกอบด้วย สถานการณ์น้ำ ผลการเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง พื้นที่การเกษตรคาดว่าจะได้รับผลกระทบ
ผลและแผนปฏิบัติการฝนหลวงเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของพื้นที่คาดว่าจะประสบภัย ดังนี้
1. สถานการณ์
1.1 ปริมาณน้ำฝน (กรมอุตุนิยมวิทยา)
- ในช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา มีฝนตกเล็กน้อย-ปานกลางถึงหนัก ใน 60 จังหวัด โดยมีปริมาณฝนสูงสุดตามภาคต่างๆ คือ
วันที่ 29 มี.ค.49 ที่จังหวัดน่าน วัดได้ 74.6 ม.ม. วันที่ 30 มี.ค. 49 ที่จังหวัดนครพนม วัดได้ 85.8 ม.ม. และวันที่ 31 มีนาคม 2549
ที่จังหวัดกาญจนบุรี วัดได้ 36.1 ม.ม. ที่จังหวัดสระแก้ว วัดได้ 56.0 ม.ม. ที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี วัดได้ 49.5 ม.ม. โดยมีปริมาณฝน
เปรียบเทียบปี 2548และ2549
1.2 สถานการณ์น้ำ
- ปริมาตรน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ทั่วประเทศ ณ วันที่ 7 เมษายน 2549 มีปริมาตรน้ำในอ่างฯ ทั้งหมด
45,966 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็นร้อยละ 67 ของความจุอ่างฯ ซึ่งมากกว่าปี 2548 (38,657 ล้าน ลบ.ม.) จำนวน 7,309 ล้าน ลบ.ม.
คิดเป็นร้อยละ 18 ในช่วงเวลาเดียวกัน
- อ่างเก็บน้ำที่มีปริมาตรน้ำในอ่าง ฯ อยู่ในเกณฑ์น้อย จำนวน 4 อ่างฯ คือ อุบลรัตน์ ลำนางรอง ทับเสลา และบางพระ มีการประชาสัมพันธ์ให้งดการปลูกพืชฤดูแล้ง และให้สงวนน้ำเพื่อการอุปโภค-บริโภค ซึ่งจะมีเพียงพอตลอดช่วงฤดูแล้ง
1.3 การปลูกพืชฤดูแล้ง ณ วันที่ 31 มีนาคม 2549
หน่วย : ล้านไร่
พื้นที่ ชนิดพืช เป้าหมาย ปลูกแล้ว เก็บเกี่ยว พื้นที่ยังไม่เก็บเกี่ยว
ในเขตชลประทาน ข้าว 5.84 7.51 2.28 5.23
พืชไร่-พืชผัก 0.87 0.70 0.09 0.61
รวม 6.71 8.21 2.37 5.84
นอกเขตชลประทาน ข้าว 1.94 2.59 0.23 2.36
พืชไร่-พืชผัก 1.79 1.66 0.29 1.37
รวม 3.73 4.25 0.52 3.73
รวม ข้าว 7.78 10.10 2.51 7.59
พืชไร่-พืชผัก 2.66 2.36 1.26 1.10
รวม 10.44 12.46 3.77 8.69
การเก็บเกี่ยวพืชฤดูแล้งเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน 1 ล้านไร่ กรมชลประทานได้ออกประกาศขอความร่วมมือให้เกษตรกรงดปลูก
ข้าวนาปรังครั้งที่ 2 และให้ปลูกพืชใช้น้ำน้อยเพื่อเป็นการประหยัดน้ำ
2. ผลกระทบด้านการเกษตร
2.1 พื้นที่การเกษตรอาจได้รับผลกระทบ จำนวน 20 จังหวัด แบ่งเป็น ด้านพืช 17 จังหวัด(เพิ่มจากสัปดาห์ก่อน 1 จังหวัด คือ
จังหวัดหนองคาย) ด้านประมง 3 จังหวัด และด้านปศุสัตว์ 2 จังหวัด (เพิ่มจากสัปดาห์ก่อน 1 จังหวัด คือ ชัยนาท) หากไม่ได้รับการช่วยเหลือ
จะเกิดความเสียหายด้านพืชที่ระดับความเสียหายร้อยละ 10 คิดเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจ 190,560,944 บาท
ภาค จังหวัด ผลกระทบด้านการเกษตร
พืช ประมง ปศุสัตว์
จังหวัด เกษตรกร พื้นที่ (ไร่) จังหวัด เกษตรกร (กระชัง/ตรม.) จังหวัด เกษตรกร สัตว์ (ตัว)
เหนือ 7 7 32,305 229,802.50 - - - 1 1,204 20,638
ต.อ.เฉียงเหนือ 7 5 4,614 27,817.50 3 58 252/3,416 - - -
กลาง 2 1 108 2,748.00 - 1 50 7,480
ตะวันออก 1 1 190 765 - - - -
ตะวันตก 2 2 36,818 169,497.00 - - - -
ใต้ 1 1 30,925.00 - - - -
รวม 20 17 74,035 461,555.00 3 58 252/3,416 2 1,254 20,022
2.2 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ดำเนินการเฝ้าระวังและให้ความช่วยเหลือพื้นที่อาจได้รับผลกระทบ โดย การปฏิบัติการฝนหลวง
การจัดสรรน้ำ การสนับสนุนเครื่องสูบน้ำและรถยนต์บรรทุกน้ำ ประกอบกับในสัปดาห์ที่ผ่านมามีฝนตก ทำให้พื้นที่ที่อาจได้รับผลกระทบลดลงอีก
15,829.50 ไร่ รวมพื้นที่ลดลง 276,461.50 ไร่ คิดเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจที่ช่วยเหลือได้ 96,980,213 บาท คงเหลือพื้นที่ที่ต้องได้รับความ
ช่วยเหลืออีก 185,093.50 ไร่
ภาค พื้นที่ที่ได้รับการช่วยเหลือและไม่เสียหายแล้ว มูลค่าทางเศรษฐกิจ คงเหลือพื้นที่ที่อาจได้รับ
ที่ช่วยเหลือได้ ผลกระทบ (ไร่)
จังหวัด พื้นที่ (ไร่) (บาท) จังหวัด พื้นที่ (ไร่)
เหนือ 5 77,559.50 35,911,635.00 4 152,243.00
ตะวันออกเฉียงเหนือ 4 25,892.00 21,168,120.00 1 1,902.00
กลาง 1 2,748.00 1,237,977.00 - -
ตะวันออก 1 765 9,352.00 - -
ตะวันตก 2 169,497.00 38,653,213.00 - -
ใต้ - - - 1 30,925.00
รวม 13 276,461.50 96,980,297.00 6 185,093.50
3. การให้ความช่วยเหลือเกษตรกร
กิจกรรม ผลการดำเนินงาน
ผลการดำเนินการแล้ว (สะสม) ช่วงวันที่ 31 มี.ค.- 6 เม.ย. 49
1. การปฏิบัติการฝนหลวง - ขึ้นปฏิบัติการ 1,291 เที่ยวบิน - ขึ้นปฏิบัติการ 60 เที่ยวบิน
โดยหน่วยปฏิบัติการฝนหลวงจำนวน - มีปริมาณฝนตกเล็กน้อย-ปานกลางถึงหนัก - มีปริมาณฝนตกเล็กน้อย-ปานกลางถึงหนัก
9 หน่วย (เชียงใหม่ พิษณุโลก นครสวรรค์ ใน 52 จังหวัด ใน 21 จังหวัด
อุดรธานี อุบลราชธานี ระยอง จันทบุรี หัวหิน - มีน้ำไหลลงอ่างเก็บน้ำเป้าหมาย 11 อ่าง - มีน้ำไหลลงอ่างเก็บน้ำเป้าหมาย
สุราษฎร์ธานี) และ 2 ฐานเติมสารฝนหลวง รวม 282.65 ล้านลบ.ม. 11 อ่าง รวม 16.83 ล้าน ลบ.ม.
(นครราชสีมา และภูเก็ต) เริ่มตั้งแต่
วันที่ 1 ก.พ. 2549
2. ด้านชลประทาน ระหว่างวันที่ 1 พ.ย. 48 — 6.เม.ย. 49
2.1 การจัดสรรน้ำ เพื่อการเกษตร ระบายน้ำจากอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ ระบายน้ำจากอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่
การประปา การเดินเรือและผลักดันน้ำเค็ม จำนวน 14,729 ล้าน ลบ.ม. จำนวน 583 ล้าน ลบ.ม.
2.2 สนับสนุนเครื่องสูบน้ำและ - เครื่องสูบน้ำ 840 เครื่อง ช่วยเหลือ - เครื่องสูบน้ำ 840 เครื่อง
รถยนต์บรรทุกน้ำ พื้นที่การเกษตรได้ 504,627 ไร่ - รถยนต์บรรทุกน้ำ 64 คัน
แบ่งเป็นข้าว 533,118 ไร่
พืชไร่-พืชผัก 52,789 ไร่
- รถยนต์บรรทุกน้ำ 64 คัน ช่วยเหลือได้
750 ครัวเรือน ปริมาณน้ำ 6.61 ล้านลิตร
3. ด้านปศุสัตว์ สนับสนุนเสบียงอาหารสัตว์ 46,000 กิโลกรัม สนับสนุนเสบียงอาหารสัตว์
เวชภัณฑ์ 2,442 ซอง แร่ธาตุ 926 ก้อน 18,000 กิโลกรัม เวชภัณฑ์ 1,611 ซอง
แร่ธาตุ 248 ก้อน
4. ด้านการส่งเสริมอาชีพ เช่น การผลิต สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1,504 กลุ่ม สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 53 กลุ่ม
ปุ๋ยหมัก การทอผ้า การตัดเย็บเสื้อผ้า เกษตรกร 29,604 ราย เกษตรกร 372 ราย
การแปรรูปผลผลิต และอื่นๆ ให้กับ
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
5. ด้านการปรับปรุงบำรุงดิน ดำเนินการรวมพื้นที่ 82,603 ไร่ แบ่ง ดำเนินการในพื้นที่ 67,503 ไร่
เป้าหมาย ใน 75 จังหวัด พื้นที่ 921,025 ไร่ เป็นในเขตชลประทาน 4,259 ไร่ แบ่งเป็นในเขตชลประทาน 1,675 ไร่
แบ่งเป็น ในเขต 154,443 ไร่ นอกเขต นอกเขตชลประทาน 78,344 ไร่ นอกเขตชลประทาน 65,828 ไร่
766,582 ไร่
4. แผนการช่วยเหลือระหว่างวันที่ 7-13 เมษายน 2549
กิจกรรม แผนการดำเนินการ
1. การปฏิบัติการฝนหลวง 1. เพื่อช่วยเหลือพื้นที่เพาะปลูกใน 29 จังหวัด
โดยหน่วยปฏิบัติการฝนหลวงจำนวน 9 หน่วย (เชียงใหม่ 2. เพิ่มความชุ่มชื้นให้กับป่าไม้เพื่อลดความรุนแรงของไฟป่า
พิษณุโลก นครสวรรค์ อุดรธานี อุบลราชธานี ระยอง จันทบุรี 3. เพิ่มปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำมีน้ำไหลลงอ่างเก็บน้ำเป้าหมาย
หัวหิน สุราษฎร์-ธานี) และ 2 ฐานเติมสารฝนหลวง 11 อ่าง ได้แก่ ทับเสลา กระเสียว อุบลรัตน์ มูลบน ลำแซะ
(นครราชสีมา และภูเก็ต) ลำตะคอง ลำนางรอง บางพระ ดอกกราย หนองปลาไหล
และบางวาด
2. ด้านปศุสัตว์
2.1 การผลิตเสบียงอาหารสัตว์สำรองไว้ช่วยเหลือ สำรองเสบียงอาหารสัตว์ไว้ 6,737,149 กิโลกรัม ตามศูนย์วิจัย
เกษตรกรที่ประสบปัญหาจากเนื่องจากภัยแล้ง และพัฒนาอาหารสัตว์ และสถานีพัฒนาอาหารสัตว์ จำนวน 29 หน่วยงาน
2.2 การสนับสนุนให้เกษตรกรผลิตเสบียงสัตว์สำรอง โดย ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์/สถานีพัฒนาอาหารสัตว์ จะนำ
เครื่องจักรกลเกษตร เช่น รถแทรกเตอร์ เครื่องอัดหญ้าแห้ง เป็นต้น
ออกไปสนับสนุน มีเป้าหมายสนับสนุนเกษตรกร 3,630 ราย คิดเป็น
เสบียงสัตว์ทั้งสิ้น 1,815,000 กิโลกรัม
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ชุดพ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร) (รักษาการนายกรัฐมนตรี) วันที่ 11 เมษายน 2549--จบ--
31 มีนาคม ถึง 6 เมษายน 2549) ประกอบด้วย สถานการณ์น้ำ ผลการเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง พื้นที่การเกษตรคาดว่าจะได้รับผลกระทบ
ผลและแผนปฏิบัติการฝนหลวงเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของพื้นที่คาดว่าจะประสบภัย ดังนี้
1. สถานการณ์
1.1 ปริมาณน้ำฝน (กรมอุตุนิยมวิทยา)
- ในช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา มีฝนตกเล็กน้อย-ปานกลางถึงหนัก ใน 60 จังหวัด โดยมีปริมาณฝนสูงสุดตามภาคต่างๆ คือ
วันที่ 29 มี.ค.49 ที่จังหวัดน่าน วัดได้ 74.6 ม.ม. วันที่ 30 มี.ค. 49 ที่จังหวัดนครพนม วัดได้ 85.8 ม.ม. และวันที่ 31 มีนาคม 2549
ที่จังหวัดกาญจนบุรี วัดได้ 36.1 ม.ม. ที่จังหวัดสระแก้ว วัดได้ 56.0 ม.ม. ที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี วัดได้ 49.5 ม.ม. โดยมีปริมาณฝน
เปรียบเทียบปี 2548และ2549
1.2 สถานการณ์น้ำ
- ปริมาตรน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ทั่วประเทศ ณ วันที่ 7 เมษายน 2549 มีปริมาตรน้ำในอ่างฯ ทั้งหมด
45,966 ล้าน ลบ.ม. คิดเป็นร้อยละ 67 ของความจุอ่างฯ ซึ่งมากกว่าปี 2548 (38,657 ล้าน ลบ.ม.) จำนวน 7,309 ล้าน ลบ.ม.
คิดเป็นร้อยละ 18 ในช่วงเวลาเดียวกัน
- อ่างเก็บน้ำที่มีปริมาตรน้ำในอ่าง ฯ อยู่ในเกณฑ์น้อย จำนวน 4 อ่างฯ คือ อุบลรัตน์ ลำนางรอง ทับเสลา และบางพระ มีการประชาสัมพันธ์ให้งดการปลูกพืชฤดูแล้ง และให้สงวนน้ำเพื่อการอุปโภค-บริโภค ซึ่งจะมีเพียงพอตลอดช่วงฤดูแล้ง
1.3 การปลูกพืชฤดูแล้ง ณ วันที่ 31 มีนาคม 2549
หน่วย : ล้านไร่
พื้นที่ ชนิดพืช เป้าหมาย ปลูกแล้ว เก็บเกี่ยว พื้นที่ยังไม่เก็บเกี่ยว
ในเขตชลประทาน ข้าว 5.84 7.51 2.28 5.23
พืชไร่-พืชผัก 0.87 0.70 0.09 0.61
รวม 6.71 8.21 2.37 5.84
นอกเขตชลประทาน ข้าว 1.94 2.59 0.23 2.36
พืชไร่-พืชผัก 1.79 1.66 0.29 1.37
รวม 3.73 4.25 0.52 3.73
รวม ข้าว 7.78 10.10 2.51 7.59
พืชไร่-พืชผัก 2.66 2.36 1.26 1.10
รวม 10.44 12.46 3.77 8.69
การเก็บเกี่ยวพืชฤดูแล้งเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน 1 ล้านไร่ กรมชลประทานได้ออกประกาศขอความร่วมมือให้เกษตรกรงดปลูก
ข้าวนาปรังครั้งที่ 2 และให้ปลูกพืชใช้น้ำน้อยเพื่อเป็นการประหยัดน้ำ
2. ผลกระทบด้านการเกษตร
2.1 พื้นที่การเกษตรอาจได้รับผลกระทบ จำนวน 20 จังหวัด แบ่งเป็น ด้านพืช 17 จังหวัด(เพิ่มจากสัปดาห์ก่อน 1 จังหวัด คือ
จังหวัดหนองคาย) ด้านประมง 3 จังหวัด และด้านปศุสัตว์ 2 จังหวัด (เพิ่มจากสัปดาห์ก่อน 1 จังหวัด คือ ชัยนาท) หากไม่ได้รับการช่วยเหลือ
จะเกิดความเสียหายด้านพืชที่ระดับความเสียหายร้อยละ 10 คิดเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจ 190,560,944 บาท
ภาค จังหวัด ผลกระทบด้านการเกษตร
พืช ประมง ปศุสัตว์
จังหวัด เกษตรกร พื้นที่ (ไร่) จังหวัด เกษตรกร (กระชัง/ตรม.) จังหวัด เกษตรกร สัตว์ (ตัว)
เหนือ 7 7 32,305 229,802.50 - - - 1 1,204 20,638
ต.อ.เฉียงเหนือ 7 5 4,614 27,817.50 3 58 252/3,416 - - -
กลาง 2 1 108 2,748.00 - 1 50 7,480
ตะวันออก 1 1 190 765 - - - -
ตะวันตก 2 2 36,818 169,497.00 - - - -
ใต้ 1 1 30,925.00 - - - -
รวม 20 17 74,035 461,555.00 3 58 252/3,416 2 1,254 20,022
2.2 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ดำเนินการเฝ้าระวังและให้ความช่วยเหลือพื้นที่อาจได้รับผลกระทบ โดย การปฏิบัติการฝนหลวง
การจัดสรรน้ำ การสนับสนุนเครื่องสูบน้ำและรถยนต์บรรทุกน้ำ ประกอบกับในสัปดาห์ที่ผ่านมามีฝนตก ทำให้พื้นที่ที่อาจได้รับผลกระทบลดลงอีก
15,829.50 ไร่ รวมพื้นที่ลดลง 276,461.50 ไร่ คิดเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจที่ช่วยเหลือได้ 96,980,213 บาท คงเหลือพื้นที่ที่ต้องได้รับความ
ช่วยเหลืออีก 185,093.50 ไร่
ภาค พื้นที่ที่ได้รับการช่วยเหลือและไม่เสียหายแล้ว มูลค่าทางเศรษฐกิจ คงเหลือพื้นที่ที่อาจได้รับ
ที่ช่วยเหลือได้ ผลกระทบ (ไร่)
จังหวัด พื้นที่ (ไร่) (บาท) จังหวัด พื้นที่ (ไร่)
เหนือ 5 77,559.50 35,911,635.00 4 152,243.00
ตะวันออกเฉียงเหนือ 4 25,892.00 21,168,120.00 1 1,902.00
กลาง 1 2,748.00 1,237,977.00 - -
ตะวันออก 1 765 9,352.00 - -
ตะวันตก 2 169,497.00 38,653,213.00 - -
ใต้ - - - 1 30,925.00
รวม 13 276,461.50 96,980,297.00 6 185,093.50
3. การให้ความช่วยเหลือเกษตรกร
กิจกรรม ผลการดำเนินงาน
ผลการดำเนินการแล้ว (สะสม) ช่วงวันที่ 31 มี.ค.- 6 เม.ย. 49
1. การปฏิบัติการฝนหลวง - ขึ้นปฏิบัติการ 1,291 เที่ยวบิน - ขึ้นปฏิบัติการ 60 เที่ยวบิน
โดยหน่วยปฏิบัติการฝนหลวงจำนวน - มีปริมาณฝนตกเล็กน้อย-ปานกลางถึงหนัก - มีปริมาณฝนตกเล็กน้อย-ปานกลางถึงหนัก
9 หน่วย (เชียงใหม่ พิษณุโลก นครสวรรค์ ใน 52 จังหวัด ใน 21 จังหวัด
อุดรธานี อุบลราชธานี ระยอง จันทบุรี หัวหิน - มีน้ำไหลลงอ่างเก็บน้ำเป้าหมาย 11 อ่าง - มีน้ำไหลลงอ่างเก็บน้ำเป้าหมาย
สุราษฎร์ธานี) และ 2 ฐานเติมสารฝนหลวง รวม 282.65 ล้านลบ.ม. 11 อ่าง รวม 16.83 ล้าน ลบ.ม.
(นครราชสีมา และภูเก็ต) เริ่มตั้งแต่
วันที่ 1 ก.พ. 2549
2. ด้านชลประทาน ระหว่างวันที่ 1 พ.ย. 48 — 6.เม.ย. 49
2.1 การจัดสรรน้ำ เพื่อการเกษตร ระบายน้ำจากอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ ระบายน้ำจากอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่
การประปา การเดินเรือและผลักดันน้ำเค็ม จำนวน 14,729 ล้าน ลบ.ม. จำนวน 583 ล้าน ลบ.ม.
2.2 สนับสนุนเครื่องสูบน้ำและ - เครื่องสูบน้ำ 840 เครื่อง ช่วยเหลือ - เครื่องสูบน้ำ 840 เครื่อง
รถยนต์บรรทุกน้ำ พื้นที่การเกษตรได้ 504,627 ไร่ - รถยนต์บรรทุกน้ำ 64 คัน
แบ่งเป็นข้าว 533,118 ไร่
พืชไร่-พืชผัก 52,789 ไร่
- รถยนต์บรรทุกน้ำ 64 คัน ช่วยเหลือได้
750 ครัวเรือน ปริมาณน้ำ 6.61 ล้านลิตร
3. ด้านปศุสัตว์ สนับสนุนเสบียงอาหารสัตว์ 46,000 กิโลกรัม สนับสนุนเสบียงอาหารสัตว์
เวชภัณฑ์ 2,442 ซอง แร่ธาตุ 926 ก้อน 18,000 กิโลกรัม เวชภัณฑ์ 1,611 ซอง
แร่ธาตุ 248 ก้อน
4. ด้านการส่งเสริมอาชีพ เช่น การผลิต สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 1,504 กลุ่ม สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 53 กลุ่ม
ปุ๋ยหมัก การทอผ้า การตัดเย็บเสื้อผ้า เกษตรกร 29,604 ราย เกษตรกร 372 ราย
การแปรรูปผลผลิต และอื่นๆ ให้กับ
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
5. ด้านการปรับปรุงบำรุงดิน ดำเนินการรวมพื้นที่ 82,603 ไร่ แบ่ง ดำเนินการในพื้นที่ 67,503 ไร่
เป้าหมาย ใน 75 จังหวัด พื้นที่ 921,025 ไร่ เป็นในเขตชลประทาน 4,259 ไร่ แบ่งเป็นในเขตชลประทาน 1,675 ไร่
แบ่งเป็น ในเขต 154,443 ไร่ นอกเขต นอกเขตชลประทาน 78,344 ไร่ นอกเขตชลประทาน 65,828 ไร่
766,582 ไร่
4. แผนการช่วยเหลือระหว่างวันที่ 7-13 เมษายน 2549
กิจกรรม แผนการดำเนินการ
1. การปฏิบัติการฝนหลวง 1. เพื่อช่วยเหลือพื้นที่เพาะปลูกใน 29 จังหวัด
โดยหน่วยปฏิบัติการฝนหลวงจำนวน 9 หน่วย (เชียงใหม่ 2. เพิ่มความชุ่มชื้นให้กับป่าไม้เพื่อลดความรุนแรงของไฟป่า
พิษณุโลก นครสวรรค์ อุดรธานี อุบลราชธานี ระยอง จันทบุรี 3. เพิ่มปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำมีน้ำไหลลงอ่างเก็บน้ำเป้าหมาย
หัวหิน สุราษฎร์-ธานี) และ 2 ฐานเติมสารฝนหลวง 11 อ่าง ได้แก่ ทับเสลา กระเสียว อุบลรัตน์ มูลบน ลำแซะ
(นครราชสีมา และภูเก็ต) ลำตะคอง ลำนางรอง บางพระ ดอกกราย หนองปลาไหล
และบางวาด
2. ด้านปศุสัตว์
2.1 การผลิตเสบียงอาหารสัตว์สำรองไว้ช่วยเหลือ สำรองเสบียงอาหารสัตว์ไว้ 6,737,149 กิโลกรัม ตามศูนย์วิจัย
เกษตรกรที่ประสบปัญหาจากเนื่องจากภัยแล้ง และพัฒนาอาหารสัตว์ และสถานีพัฒนาอาหารสัตว์ จำนวน 29 หน่วยงาน
2.2 การสนับสนุนให้เกษตรกรผลิตเสบียงสัตว์สำรอง โดย ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์/สถานีพัฒนาอาหารสัตว์ จะนำ
เครื่องจักรกลเกษตร เช่น รถแทรกเตอร์ เครื่องอัดหญ้าแห้ง เป็นต้น
ออกไปสนับสนุน มีเป้าหมายสนับสนุนเกษตรกร 3,630 ราย คิดเป็น
เสบียงสัตว์ทั้งสิ้น 1,815,000 กิโลกรัม
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ชุดพ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร) (รักษาการนายกรัฐมนตรี) วันที่ 11 เมษายน 2549--จบ--