3.2.1 พิจารณากลั่นกรองเรื่องสำคัญในปัญหาที่เกี่ยวพัน หรือมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจการเงิน การคลัง การภาษีอากร สถาบันการเงิน การลงทุน อุตสาหกรรม การผลิต การหารายได้เข้าประเทศ การนำเข้าและส่งออกสินค้า นโยบายรัฐวิสาหกิจ รวมทั้งการพลังงาน (ในส่วนที่มีผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจโดยรวม) ก่อนที่จะนำเสนอคณะรัฐมนตรี
3.2.2 ประเมิน วิเคราะห์ และเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางตัดสินใจเชิงรุกในประเด็นนโยบายตามข้อ 3.2.1 ตามนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจ และบทบัญญัติในหมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ มาตรา 76 มาตรา 81 มาตรา 83 และมาตรา 87 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เพื่อเสนอต่อคณะรัฐมนตรี
3.2.3 พิจารณาเรื่องอื่น ๆ ตามที่นายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย
3.3 กลไกการปฏิบัติงาน
3.3.1 ให้สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีจัดส่งเรื่องสำคัญในปัญหา ตามข้อ 3.2.1 ตามที่กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานของรัฐเสนอมาเพื่อคณะรัฐมนตรีพิจารณา พร้อมทั้งความเห็นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเอกสารประกอบ ให้คณะกรรมการดังกล่าวพิจารณากลั่นกรองก่อนที่จะนำเสนอคณะรัฐมนตรี
3.3.2 เรื่องสำคัญซึ่งจะต้องเสนอคณะกรรมการตามคำสั่งนี้ หมายถึงเรื่องที่มีลักษณะตามข้อ 1.3.2 ข้างต้น
3.3.3 ในการเสนอปัญหาในเชิงรุกตามข้อ 3.2.2ให้กระทรวงการคลัง กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงอุตสาหกรรม สำนักงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน หรือสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นเจ้าของเรื่อง แต่กรรมการคนใดคนหนึ่งโดยความเห็นชอบของประธานกรรมการจะยกประเด็นขึ้นหารือก็ได้
3.3.4 ให้นำข้อ 1.3.4 — ข้อ 1.3.8 ข้างต้น มาใช้บังคับด้วย
4. คณะกรรมการกลั่นกรองเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ 4 (ฝ่ายการท่องเที่ยว กีฬา พุทธศาสนา แรงงานและการพัฒนาสังคม และฝ่ายกฎหมายและระบบราชการ)
4.1 องค์ประกอบฝ่ายการท่องเที่ยว กีฬา พุทธศาสนา แรงงานและการพัฒนาสังคม
4.1.1 รองนายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการ
(นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ)
4.1.2 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน รองประธานกรรมการ
4.1.3 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กรรมการ
4.1.4 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคม กรรมการ
และความมั่นคงของมนุษย์
4.1.5 ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงวัฒนธรรม กรรมการ
4.1.6 ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงศึกษาธิการ กรรมการ
4.1.7 ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงสาธารณสุข กรรมการ
4.1.8 ผู้ช่วยรัฐมนตรีที่ประธานกรรมการ กรรมการ
มอบหมายให้เข้าประชุม
4.1.9 ปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กรรมการ
4.1.10 ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและ กรรมการ
ความมั่นคงของมนุษย์
4.1.11 ปลัดกระทรวงแรงงาน กรรมการ
4.1.12 ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ กรรมการ
4.1.13 อธิบดีกรมการศาสนา กรรมการ
4.1.14 เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน กรรมการ
4.1.15 ผู้อำนวยการสำนักงานพระพุทธศาสนา กรรมการ
แห่งชาติ
4.1.16 ผู้ว่าการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย กรรมการ
4.1.17 ผู้ว่าการการกีฬาแห่งประเทศไทย กรรมการ
4.1.18 ผู้ว่าการการเคหะแห่งชาติ กรรมการ
4.1.19 รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ กรรมการ
ที่ได้รับมอบหมาย
4.1.20 รองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนา กรรมการ
การเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ที่ได้รับมอบหมาย
4.1.21 ผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กรรมการ
4.1.22 เลขาธิการคณะรัฐมนตรี กรรมการและ
เลขานุการ
4.1.23 รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี กรรมการและ
ฝ่ายการเมืองประจำรองนายกรัฐมนตรี ผู้ช่วยเลขานุการ
(นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ)
4.2 องค์ประกอบฝ่ายกฎหมาย และระบบราชการ
4.2.1 รองนายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการ
(นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ)
4.2.2 รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี รองประธานกรรมการ
(นายเนวิน ชิดชอบ)
4.2.3 รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี กรรมการ
(นายสุรนันทน์ เวชชาชีวะ)
4.2.4 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กรรมการ
4.2.5 ผู้ช่วยรัฐมนตรีที่ประธานกรรมการ กรรมการ
มอบหมายให้เข้าประชุม
4.2.6 ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี กรรมการ
4.2.7 ปลัดกระทรวงการคลัง กรรมการ
4.2.8 ปลัดกระทรวงยุติธรรม กรรมการ
4.2.9 อัยการสูงสุด กรรมการ
4.2.10 เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา กรรมการ
4.2.11 ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ กรรมการ
4.2.12 เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน กรรมการ
4.2.13 เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ กรรมการ
4.2.14 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิของนายกรัฐมนตรี กรรมการ
ฝ่ายที่ปรึกษาด้านกฎหมาย
(นายสุขุมพงศ์ โง่นคำ)
4.2.15 เลขาธิการคณะรัฐมนตรี กรรมการและ
เลขานุการ
4.2.16 รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี กรรมการและ
ฝ่ายการเมืองประจำรองนายกรัฐมนตรี ผู้ช่วยเลขานุการ
(นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ)
4.3 อำนาจหน้าที่
4.3.1 พิจารณากลั่นกรองเรื่องสำคัญในปัญหาที่เกี่ยวพันหรือมีผลกระทบต่อการท่องเที่ยว การกีฬา พุทธศาสนา แรงงาน การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ การพัฒนาองค์กรชุมชน การพัฒนาคุณภาพชีวิต หรือเกี่ยวพันกับการพัฒนาระบบราชการ การบริหารงานบุคคลภาครัฐ กฎหมาย และการพิจารณาข้อเสนอของศาลและองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ก่อนที่จะนำเสนอคณะรัฐมนตรี
4.3.2 ประเมิน วิเคราะห์ และเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางตัดสินใจเชิงรุกในประเด็นนโยบายตามข้อ 4.3.1 ตามนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวและกีฬา พุทธศาสนา แรงงานและการพัฒนาสังคม การพัฒนาระบบราชการการบริหารงานบุคคลภาครัฐ กฎหมาย และการพิจารณาข้อเสนอของศาลและองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญและบทบัญญัติในหมวด 5แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ มาตรา 73 มาตรา 75 มาตรา 76 มาตรา 77 มาตรา 80 มาตรา 81 มาตรา 83 มาตรา 86 และมาตรา 87 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยเพื่อเสนอต่อคณะรัฐมนตรี
4.3.3 พิจารณาเรื่องอื่น ๆ ตามที่นายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย
4.4 กลไกการปฏิบัติงาน
4.4.1 ให้สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีจัดส่งเรื่องสำคัญในปัญหา ตามข้อ 4.3.1 ตามที่กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานของรัฐเสนอมาเพื่อคณะรัฐมนตรีพิจารณา พร้อมทั้งความเห็นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเอกสารประกอบให้คณะกรรมการดังกล่าวพิจารณากลั่นกรองก่อนที่จะนำเสนอคณะรัฐมนตรี
4.4.2 เรื่องสำคัญตามคำสั่งนี้ซึ่งจะต้องเสนอคณะกรรมการ หมายถึงเรื่องที่มีลักษณะตามข้อ 1.3.2 ข้างต้น
4.4.3 ในการเสนอปัญหาในเชิงรุกตามข้อ 4.3.2 ให้กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงแรงงาน กระทรวงยุติธรรม สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน สำนักงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เป็นเจ้าของเรื่อง แต่กรรมการคนใดคนหนึ่งโดยความเห็นชอบของประธานกรรมการจะยกประเด็นขึ้นหารือก็ได้
4.4.4 ให้นำข้อ 1.3.4 — ข้อ 1.3.8 ข้างต้น มาใช้บังคับด้วย
5. คณะกรรมการกลั่นกรองเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ 5 (ฝ่ายการต่างประเทศ การศึกษา การศาสนาและวัฒนธรรม)
5.1 องค์ประกอบ
5.1.1 รองนายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการ
(นายสุรเกียรติ์ เสถียรไทย)
5.1.2 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รองประธานกรรมการ
5.1.3 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ กรรมการ
5.1.4 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม กรรมการ
5.1.5 ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงเทคโนโลยี กรรมการ
สารสนเทศและการสื่อสาร
5.1.6 ผู้ช่วยรัฐมนตรีที่ประธานกรรมการ กรรมการ
มอบหมายให้เข้าประชุม
5.1.7 ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ กรรมการ
5.1.8 ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม กรรมการ
5.1.9 ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กรรมการ
5.1.10 ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ กรรมการ
5.1.11 เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการ กรรมการ
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
5.1.12 เลขาธิการสภาการศึกษา กรรมการ
5.1.13 เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษา กรรมการ
ขั้นพื้นฐาน
5.1.14 เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา กรรมการ
5.1.15 เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กรรมการ
5.1.16 เลขาธิการคณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ กรรมการ
5.1.17 ผู้อำนวยการสำนักงานรับรองมาตรฐานและ กรรมการ
ประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)
5.1.18 ผู้แทนกระทรวงการคลัง กรรมการ
5.1.19 ผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กรรมการ
5.1.20 เลขาธิการคณะรัฐมนตรี กรรมการและ
เลขานุการ
5.1.21 รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี กรรมการและ
ฝ่ายการเมืองประจำรองนายกรัฐมนตรี ผู้ช่วยเลขานุการ
(นายสุรเกียรติ์ เสถียรไทย)
5.2 อำนาจหน้าที่
5.2.1 พิจารณากลั่นกรองเรื่องสำคัญในปัญหาที่เกี่ยวพันหรือมีผลกระทบต่อการต่างประเทศ ความร่วมมือระหว่างประเทศ การให้หรือขอรับความช่วยเหลือจากต่างประเทศ การศึกษา การศาสนา (ยกเว้นพุทธศาสนา) วัฒนธรรม และการวิจัยก่อนที่จะนำเสนอคณะรัฐมนตรี
5.2.2 ประเมิน วิเคราะห์ และเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางตัดสินใจเชิงรุกในประเด็นนโยบายตามข้อ 5.2.1 ตามนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องกับการต่างประเทศ การศึกษา การศาสนา (ยกเว้นพุทธศาสนา) วัฒนธรรม การวิจัย และบทบัญญัติในหมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ มาตรา 74 มาตรา 80 และมาตรา 81 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เพื่อเสนอต่อคณะรัฐมนตรี
5.2.3 พิจารณาเรื่องอื่น ๆ ตามที่นายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย
5.3 กลไกการปฏิบัติงาน
5.3.1 ให้สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีจัดส่งเรื่องสำคัญในปัญหา ตามข้อ 5.2.1 ตามที่กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานของรัฐเสนอมาเพื่อคณะรัฐมนตรีพิจารณา พร้อมทั้งความเห็นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเอกสารประกอบให้คณะกรรมการดังกล่าวพิจารณากลั่นกรองก่อนที่จะนำเสนอคณะรัฐมนตรี
5.3.2 เรื่องสำคัญตามคำสั่งนี้ซึ่งจะต้องเสนอคณะกรรมการ หมายถึงเรื่องที่มีลักษณะตามข้อ 1.3.2 ข้างต้น
5.3.3 ในการเสนอปัญหาในเชิงรุกตามข้อ 5.2.2 ให้กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงวัฒนธรรม และกระทรวงศึกษาธิการ เป็นเจ้าของเรื่องแต่กรรมการคนใดคนหนึ่งโดยความเห็นชอบของประธานกรรมการจะยกประเด็นขึ้นหารือก็ได้
5.3.4 ให้นำข้อ 1.3.4 — ข้อ 1.3.8 ข้างต้น มาใช้บังคับด้วย
6. คณะกรรมการกลั่นกรองเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ 6 (ฝ่ายสาธารณสุข เทคโนโลยีสารสนเทศและวิทยาศาสตร์)
6.1 องค์ประกอบ
6.1.1 รองนายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการ
(นายสุชัย เจริญรัตนกุล)
6.1.2 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รองประธานกรรมการ
6.1.3 รัฐมนตรีว่ากระทรวงเทคโนโลยี กรรมการ
สารสนเทศและการสื่อสาร
6.1.4 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ กรรมการ
และเทคโนโลยี
6.1.5 ผู้ช่วยรัฐมนตรีที่ประธานกรรมการ กรรมการ
มอบหมายให้เข้าประชุม
6.1.6 ปลัดกระทรวงการคลัง กรรมการ
6.1.7 ปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ กรรมการ
และการสื่อสาร
6.1.8 ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และ กรรมการ
เทคโนโลยี
6.1.9 ปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรรมการ
6.1.10 ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ กรรมการ
6.1.11 เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนา กรรมการ
การเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
6.1.12 เลขาธิการคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค กรรมการ
6.1.13 ผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ กรรมการ
และเทคโนโลยีแห่งชาติ
6.1.14 ผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กรรมการ
6.1.15 เลขาธิการคณะรัฐมนตรี กรรมการและ
เลขานุการ
6.1.16 รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี กรรมการและ
ฝ่ายการเมืองประจำรองนายกรัฐมนตรี ผู้ช่วยเลขานุการ
(นายสุชัย เจริญรัตนกุล)
6.2 อำนาจหน้าที่
6.2.1 พิจารณากลั่นกรองเรื่องสำคัญในปัญหาที่เกี่ยวพันหรือมีผลกระทบต่อการสาธารณสุข การคุ้มครองผู้บริโภค เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ก่อนที่จะนำเสนอคณะรัฐมนตรี
6.2.2 ประเมิน วิเคราะห์ และเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางตัดสินใจเชิงรุกในประเด็นนโยบายตามข้อ 6.2.1 ตามนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องกับการสาธารณสุข การคุ้มครองผู้บริโภค เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี และบทบัญญัติในหมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ มาตรา 78 มาตรา 79 มาตรา 81 มาตรา 82 และมาตรา 87 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เพื่อเสนอต่อคณะรัฐมนตรี
6.2.3 พิจารณาเรื่องอื่นๆ ตามที่นายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย
6.3 กลไกการปฏิบัติงาน
6.3.1 ให้สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีจัดส่งเรื่องสำคัญในปัญหาตามข้อ 6.2.1 ตามที่กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานของรัฐเสนอมาเพื่อคณะรัฐมนตรีพิจารณา พร้อมทั้งความเห็นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเอกสารประกอบให้คณะกรรมการดังกล่าวพิจารณากลั่นกรองก่อนที่จะนำเสนอคณะรัฐมนตรี
6.3.2 เรื่องสำคัญตามคำสั่งนี้ซึ่งจะต้องเสนอคณะกรรมการหมายถึงเรื่องที่มีลักษณะตามข้อ 1.3.2 ข้างต้น
6.3.3 ในการเสนอปัญหาในเชิงรุกตามข้อ 6.2.2 ให้กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงสาธารณสุข สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเจ้าของเรื่อง แต่กรรมการคนใดคนหนึ่งโดยความเห็นชอบของประธานกรรมการจะยกประเด็นขึ้นหารือก็ได้
6.3.4 ให้นำข้อ 1.3.4 — ข้อ 1.3.8 ข้างต้น มาใช้บังคับด้วย
7. ให้มีการประชุมคณะกรรมการกลั่นกรองฯ อย่างน้อยเดือนละหนึ่งครั้งเว้นแต่ไม่มีเรื่องเข้าสู่การพิจารณาของคณะกรรมการกลั่นกรอง ฯ
ในกรณีที่ประธานกรรมการกลั่นกรอง ฯ ไม่อยู่ หรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้รองประธานกรรมการกลั่นกรองฯ เป็นผู้นัดประชุมและปฏิบัติหน้าที่เป็นประธานกรรมการกลั่นกรอง ฯ แทน เว้นแต่ในกรณีที่รองนายกรัฐมนตรีเข้าร่วมประชุมให้รองนายกรัฐมนตรีทำหน้าที่ประธานที่ประชุมคราวนั้นแทนรองประธานกรรมการกลั่นกรองฯ หากรองนายกรัฐมนตรีเข้าร่วมประชุมหลายคน ให้รองนายกรัฐมนตรีผู้อยู่ในลำดับต้นของคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 115 /2549 เรื่อง มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีรักษาราชการแทนนายกรัฐมนตรีและมอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีรักษาราชการแทนกัน เป็นประธาน
8. เมื่อคณะกรรมการกลั่นกรองฯ มีมติเป็นประการใด ให้นำเสนอนายกรัฐมนตรีอนุมัติและเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบ เว้นแต่คณะกรรมการกลั่นกรองฯ หรือนายกรัฐมนตรีจะเห็นควรดำเนินการเป็นประการอื่น ก็ให้ดำเนินการตามมติหรือคำสั่งการนั้น ให้ประธานกรรมการหรือรองประธานกรรมการเป็นผู้ลงนามในบันทึกเสนอมติคณะกรรมการกลั่นกรองฯ ต่อคณะรัฐมนตรี
9. ในกรณีที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ซึ่งเป็นกรรมการในคณะกรรมการกลั่นกรอง ฯ ไม่อาจเข้าประชุมได้ ให้มอบหมายรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเข้าประชุมแทน และหากจำเป็นอาจพิจารณามอบหมายให้ผู้บังคับบัญชาระดับสูง ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบและรู้ข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องที่คณะกรรมการกลั่นกรอง ฯ จะพิจารณาเป็นอย่างดี เป็นผู้เข้าประชุมแทน
ในกรณีที่ปลัดกระทรวง เลขาธิการ ผู้อำนวยการหรือตำแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นซึ่งเทียบเท่าปลัดกระทรวง ซึ่งเป็นกรรมการในคณะกรรมการกลั่นกรองฯ ไม่อาจเข้าประชุมได้ ให้มอบหมายรองปลัดกระทรวงรองเลขาธิการ หรือรองผู้อำนวยการเป็นผู้เข้าประชุมแทน
10. ในกรณีเห็นสมควร คณะกรรมการกลั่นกรอง ฯ ตามคำสั่งนี้จะจัดให้มีการประชุมคณะกรรมการกลั่นกรอง ฯ หลายคณะร่วมกัน เพื่อพิจารณาปัญหาคาบเกี่ยวให้เกิดความรอบคอบ ชัดเจน และมีการประสานสอดคล้องกันก็ได้
11. เรื่องใดที่ประธานกรรมการกลั่นกรองฯ คณะใดเห็นว่าเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องหรืออยู่ในอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการกลั่นกรอง ฯ คณะอื่นที่ไม่ใช่คณะของตนให้ประธานกรรมการกลั่นกรองฯ คณะนั้นมีอำนาจสั่งการให้เสนอคณะกรรมการกลั่นกรอง ฯ ตามที่เห็นสมควรเป็นผู้พิจารณาได้
12. ในกรณีเรื่องที่เสนอคณะกรรมการกลั่นกรองฯ เรื่องใด เป็นปัญหาข้อกฎหมาย หรือปัญหาเกี่ยวกับการตั้งหน่วยงาน การเพิ่มอัตรากำลังหรือมีผลกระทบต่อเงินเดือน ให้เสนอคณะกรรมการกลั่นกรองฯ คณะที่ 4.2 เป็น ผู้พิจารณา
13. ให้สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีและสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีอำนวยความสะดวกในการประชุมคณะกรรมการทุกคณะตามคำสั่งนี้ และมีอำนาจออกระเบียบหรือคำสั่งที่จำเป็นเพื่อให้การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ฝ่ายเลขานุการเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
14. ในกรณีที่มีปัญหาสำคัญเกี่ยวกับการปฏิบัติตามคำสั่งนี้ สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีอาจขอให้นายกรัฐมนตรีหรือที่ประชุมร่วมรองนายกรัฐมนตรีวินิจฉัยหรือสั่งการตามที่เห็นสมควรได้
บทเฉพาะกาล
15. ในระยะเริ่มแรก ให้สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีประสานกับรองนายกรัฐมนตรีซึ่งเป็นประธานคณะกรรมการกลั่นกรอง ฯ ทั้ง 6 คณะ เพื่อดำเนินการเกี่ยวกับเรื่องที่อยู่ระหว่างการจัดเข้าระเบียบวาระ ฯ ของคณะกรรมการกลั่นกรองฯ ทั้งหมด ให้เหมาะสมสอดคล้องกับกรอบอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการกลั่นกรอง ฯ ที่ได้จัดตั้งขึ้นใหม่ด้วย
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2549 เป็นต้นไป
13. มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีกำกับติดตามการปฏิบัติราชการในภูมิภาค
คณะรัฐมนตรีรับทราบคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรีที่ 137 /2549 เรื่อง มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีกำกับติดตามการปฏิบัติราชการในภูมิภาค
ตามที่ได้มีคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 117/2549 ลงวันที่ 27 มิถุนายน 2549 เรื่อง มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีกำกับติดตามการปฏิบัติราชการในภูมิภาคและกรุงเทพมหานคร นั้น
เพื่อให้การกำกับติดตามการปฏิบัติราชการเป็นไปด้วยความเรียบร้อย อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 11 (1) และ (9) และมาตรา 38 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี จึงให้ยกเลิกความในข้อ 1.4 และข้อ 1.8 ของคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 117/2549 ลงวันที่ 27 มิถุนายน 2549 และให้ใช้ความดังต่อไปนี้แทน
“1. พื้นที่
1.4 รองนายกรัฐมนตรี (นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ) กำกับติดตามการปฏิบัติราชการในพื้นที่ดังนี้
เขตตรวจราชการที่ 1 ของสำนักนายกรัฐมนตรี ได้แก่ จังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ น่าน พะเยา แพร่ แม่ฮ่องสอน ลำปาง ลำพูน
เขตตรวจราชการที่ 7 ของสำนักนายกรัฐมนตรี ได้แก่ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี สมุทรสงคราม สมุทรสาคร
เขตตรวจราชการที่ 16 ของสำนักนายกรัฐมนตรี ได้แก่ จังหวัดตรัง นครศรีธรรมราช พัทลุง
เขตตรวจราชการที่ 17 ของสำนักนายกรัฐมนตรี ได้แก่ จังหวัดกระบี่ พังงา ภูเก็ต
และให้มีอำนาจหน้าที่กำกับติดตามการปฏิบัติราชการในเขตตรวจราชการที่ 13 ของสำนักนายกรัฐมนตรี เฉพาะพื้นที่จังหวัดชัยภูมิและจังหวัดนครราชสีมา
1.8 รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (นายเนวิน ชิดชอบ)
1.8.1 กำกับติดตามการปฏิบัติราชการในพื้นที่ดังนี้
เขตตรวจราชการที่ 4 ของสำนักนายกรัฐมนตรี ได้แก่ จังหวัดนนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง
เขตตรวจราชการที่ 13 ของสำนักนายกรัฐมนตรี ได้แก่ จังหวัดสุรินทร์ บุรีรัมย์ (ยกเว้นการกำกับติดตามการปฏิบัติราชการในพื้นที่ตามความในวรรคท้ายของข้อ 1.4 )
1.8.2 กำกับติดตามการปฏิบัติราชการและการตรวจราชการตามนโยบายรัฐบาลและการสั่งการของนายกรัฐมนตรี”
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 เป็นต้นไป
14. แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการคดีพิเศษ
คณะรัฐมนตรีอนุมัติตามที่กระทรวงยุติธรรมเสนอให้แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการคดีพิเศษ จำนวน 9 คน แทนกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้ดำรงตำแหน่งมาครบกำหนด 2 ปี ตามวาระเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2549 ดังนี้ 1. นายเกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมาย 2. พลตำรวจเอก จุมพล มั่นหมาย ผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมาย 3. นายชัช ชลวร ผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมาย 4. พลตำรวจตรี พีรพันธุ์ เปรมภูติ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมาย 5. นายเรวัต ฉ่ำเฉลิม ผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมาย 6. นายวีรพงษ์ รามางกูร ผู้ทรงคุณวุฒิด้านเศรษฐศาสตร์และการเงินการธนาคาร 7. นาวาตรี วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 8. นายวุฒิพันธุ์ วิชัยรัตน์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านเศรษฐศาสตร์ และ 9. นายโสภณ รัตนากร ผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมาย ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2549 เป็นต้นไป และสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีจะได้ส่งเรื่องให้คณะกรรมการการเลือกตั้งให้ความเห็นชอบ และนำความกราบบังคมทูลพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งต่อไป
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ชุดพ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร) (รักษาการนายกรัฐมนตรี) วันที่ 1 สิงหาคม 2549--จบ--
3.2.2 ประเมิน วิเคราะห์ และเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางตัดสินใจเชิงรุกในประเด็นนโยบายตามข้อ 3.2.1 ตามนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจ และบทบัญญัติในหมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ มาตรา 76 มาตรา 81 มาตรา 83 และมาตรา 87 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เพื่อเสนอต่อคณะรัฐมนตรี
3.2.3 พิจารณาเรื่องอื่น ๆ ตามที่นายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย
3.3 กลไกการปฏิบัติงาน
3.3.1 ให้สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีจัดส่งเรื่องสำคัญในปัญหา ตามข้อ 3.2.1 ตามที่กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานของรัฐเสนอมาเพื่อคณะรัฐมนตรีพิจารณา พร้อมทั้งความเห็นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเอกสารประกอบ ให้คณะกรรมการดังกล่าวพิจารณากลั่นกรองก่อนที่จะนำเสนอคณะรัฐมนตรี
3.3.2 เรื่องสำคัญซึ่งจะต้องเสนอคณะกรรมการตามคำสั่งนี้ หมายถึงเรื่องที่มีลักษณะตามข้อ 1.3.2 ข้างต้น
3.3.3 ในการเสนอปัญหาในเชิงรุกตามข้อ 3.2.2ให้กระทรวงการคลัง กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงอุตสาหกรรม สำนักงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน หรือสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นเจ้าของเรื่อง แต่กรรมการคนใดคนหนึ่งโดยความเห็นชอบของประธานกรรมการจะยกประเด็นขึ้นหารือก็ได้
3.3.4 ให้นำข้อ 1.3.4 — ข้อ 1.3.8 ข้างต้น มาใช้บังคับด้วย
4. คณะกรรมการกลั่นกรองเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ 4 (ฝ่ายการท่องเที่ยว กีฬา พุทธศาสนา แรงงานและการพัฒนาสังคม และฝ่ายกฎหมายและระบบราชการ)
4.1 องค์ประกอบฝ่ายการท่องเที่ยว กีฬา พุทธศาสนา แรงงานและการพัฒนาสังคม
4.1.1 รองนายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการ
(นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ)
4.1.2 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน รองประธานกรรมการ
4.1.3 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กรรมการ
4.1.4 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคม กรรมการ
และความมั่นคงของมนุษย์
4.1.5 ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงวัฒนธรรม กรรมการ
4.1.6 ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงศึกษาธิการ กรรมการ
4.1.7 ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงสาธารณสุข กรรมการ
4.1.8 ผู้ช่วยรัฐมนตรีที่ประธานกรรมการ กรรมการ
มอบหมายให้เข้าประชุม
4.1.9 ปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กรรมการ
4.1.10 ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและ กรรมการ
ความมั่นคงของมนุษย์
4.1.11 ปลัดกระทรวงแรงงาน กรรมการ
4.1.12 ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ กรรมการ
4.1.13 อธิบดีกรมการศาสนา กรรมการ
4.1.14 เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน กรรมการ
4.1.15 ผู้อำนวยการสำนักงานพระพุทธศาสนา กรรมการ
แห่งชาติ
4.1.16 ผู้ว่าการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย กรรมการ
4.1.17 ผู้ว่าการการกีฬาแห่งประเทศไทย กรรมการ
4.1.18 ผู้ว่าการการเคหะแห่งชาติ กรรมการ
4.1.19 รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ กรรมการ
ที่ได้รับมอบหมาย
4.1.20 รองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนา กรรมการ
การเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ที่ได้รับมอบหมาย
4.1.21 ผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กรรมการ
4.1.22 เลขาธิการคณะรัฐมนตรี กรรมการและ
เลขานุการ
4.1.23 รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี กรรมการและ
ฝ่ายการเมืองประจำรองนายกรัฐมนตรี ผู้ช่วยเลขานุการ
(นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ)
4.2 องค์ประกอบฝ่ายกฎหมาย และระบบราชการ
4.2.1 รองนายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการ
(นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ)
4.2.2 รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี รองประธานกรรมการ
(นายเนวิน ชิดชอบ)
4.2.3 รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี กรรมการ
(นายสุรนันทน์ เวชชาชีวะ)
4.2.4 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กรรมการ
4.2.5 ผู้ช่วยรัฐมนตรีที่ประธานกรรมการ กรรมการ
มอบหมายให้เข้าประชุม
4.2.6 ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี กรรมการ
4.2.7 ปลัดกระทรวงการคลัง กรรมการ
4.2.8 ปลัดกระทรวงยุติธรรม กรรมการ
4.2.9 อัยการสูงสุด กรรมการ
4.2.10 เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา กรรมการ
4.2.11 ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ กรรมการ
4.2.12 เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน กรรมการ
4.2.13 เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ กรรมการ
4.2.14 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิของนายกรัฐมนตรี กรรมการ
ฝ่ายที่ปรึกษาด้านกฎหมาย
(นายสุขุมพงศ์ โง่นคำ)
4.2.15 เลขาธิการคณะรัฐมนตรี กรรมการและ
เลขานุการ
4.2.16 รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี กรรมการและ
ฝ่ายการเมืองประจำรองนายกรัฐมนตรี ผู้ช่วยเลขานุการ
(นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ)
4.3 อำนาจหน้าที่
4.3.1 พิจารณากลั่นกรองเรื่องสำคัญในปัญหาที่เกี่ยวพันหรือมีผลกระทบต่อการท่องเที่ยว การกีฬา พุทธศาสนา แรงงาน การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ การพัฒนาองค์กรชุมชน การพัฒนาคุณภาพชีวิต หรือเกี่ยวพันกับการพัฒนาระบบราชการ การบริหารงานบุคคลภาครัฐ กฎหมาย และการพิจารณาข้อเสนอของศาลและองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ก่อนที่จะนำเสนอคณะรัฐมนตรี
4.3.2 ประเมิน วิเคราะห์ และเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางตัดสินใจเชิงรุกในประเด็นนโยบายตามข้อ 4.3.1 ตามนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวและกีฬา พุทธศาสนา แรงงานและการพัฒนาสังคม การพัฒนาระบบราชการการบริหารงานบุคคลภาครัฐ กฎหมาย และการพิจารณาข้อเสนอของศาลและองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญและบทบัญญัติในหมวด 5แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ มาตรา 73 มาตรา 75 มาตรา 76 มาตรา 77 มาตรา 80 มาตรา 81 มาตรา 83 มาตรา 86 และมาตรา 87 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยเพื่อเสนอต่อคณะรัฐมนตรี
4.3.3 พิจารณาเรื่องอื่น ๆ ตามที่นายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย
4.4 กลไกการปฏิบัติงาน
4.4.1 ให้สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีจัดส่งเรื่องสำคัญในปัญหา ตามข้อ 4.3.1 ตามที่กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานของรัฐเสนอมาเพื่อคณะรัฐมนตรีพิจารณา พร้อมทั้งความเห็นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเอกสารประกอบให้คณะกรรมการดังกล่าวพิจารณากลั่นกรองก่อนที่จะนำเสนอคณะรัฐมนตรี
4.4.2 เรื่องสำคัญตามคำสั่งนี้ซึ่งจะต้องเสนอคณะกรรมการ หมายถึงเรื่องที่มีลักษณะตามข้อ 1.3.2 ข้างต้น
4.4.3 ในการเสนอปัญหาในเชิงรุกตามข้อ 4.3.2 ให้กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงแรงงาน กระทรวงยุติธรรม สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน สำนักงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เป็นเจ้าของเรื่อง แต่กรรมการคนใดคนหนึ่งโดยความเห็นชอบของประธานกรรมการจะยกประเด็นขึ้นหารือก็ได้
4.4.4 ให้นำข้อ 1.3.4 — ข้อ 1.3.8 ข้างต้น มาใช้บังคับด้วย
5. คณะกรรมการกลั่นกรองเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ 5 (ฝ่ายการต่างประเทศ การศึกษา การศาสนาและวัฒนธรรม)
5.1 องค์ประกอบ
5.1.1 รองนายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการ
(นายสุรเกียรติ์ เสถียรไทย)
5.1.2 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รองประธานกรรมการ
5.1.3 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ กรรมการ
5.1.4 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม กรรมการ
5.1.5 ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงเทคโนโลยี กรรมการ
สารสนเทศและการสื่อสาร
5.1.6 ผู้ช่วยรัฐมนตรีที่ประธานกรรมการ กรรมการ
มอบหมายให้เข้าประชุม
5.1.7 ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ กรรมการ
5.1.8 ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม กรรมการ
5.1.9 ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กรรมการ
5.1.10 ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ กรรมการ
5.1.11 เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการ กรรมการ
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
5.1.12 เลขาธิการสภาการศึกษา กรรมการ
5.1.13 เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษา กรรมการ
ขั้นพื้นฐาน
5.1.14 เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา กรรมการ
5.1.15 เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กรรมการ
5.1.16 เลขาธิการคณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ กรรมการ
5.1.17 ผู้อำนวยการสำนักงานรับรองมาตรฐานและ กรรมการ
ประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)
5.1.18 ผู้แทนกระทรวงการคลัง กรรมการ
5.1.19 ผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กรรมการ
5.1.20 เลขาธิการคณะรัฐมนตรี กรรมการและ
เลขานุการ
5.1.21 รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี กรรมการและ
ฝ่ายการเมืองประจำรองนายกรัฐมนตรี ผู้ช่วยเลขานุการ
(นายสุรเกียรติ์ เสถียรไทย)
5.2 อำนาจหน้าที่
5.2.1 พิจารณากลั่นกรองเรื่องสำคัญในปัญหาที่เกี่ยวพันหรือมีผลกระทบต่อการต่างประเทศ ความร่วมมือระหว่างประเทศ การให้หรือขอรับความช่วยเหลือจากต่างประเทศ การศึกษา การศาสนา (ยกเว้นพุทธศาสนา) วัฒนธรรม และการวิจัยก่อนที่จะนำเสนอคณะรัฐมนตรี
5.2.2 ประเมิน วิเคราะห์ และเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางตัดสินใจเชิงรุกในประเด็นนโยบายตามข้อ 5.2.1 ตามนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องกับการต่างประเทศ การศึกษา การศาสนา (ยกเว้นพุทธศาสนา) วัฒนธรรม การวิจัย และบทบัญญัติในหมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ มาตรา 74 มาตรา 80 และมาตรา 81 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เพื่อเสนอต่อคณะรัฐมนตรี
5.2.3 พิจารณาเรื่องอื่น ๆ ตามที่นายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย
5.3 กลไกการปฏิบัติงาน
5.3.1 ให้สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีจัดส่งเรื่องสำคัญในปัญหา ตามข้อ 5.2.1 ตามที่กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานของรัฐเสนอมาเพื่อคณะรัฐมนตรีพิจารณา พร้อมทั้งความเห็นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเอกสารประกอบให้คณะกรรมการดังกล่าวพิจารณากลั่นกรองก่อนที่จะนำเสนอคณะรัฐมนตรี
5.3.2 เรื่องสำคัญตามคำสั่งนี้ซึ่งจะต้องเสนอคณะกรรมการ หมายถึงเรื่องที่มีลักษณะตามข้อ 1.3.2 ข้างต้น
5.3.3 ในการเสนอปัญหาในเชิงรุกตามข้อ 5.2.2 ให้กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงวัฒนธรรม และกระทรวงศึกษาธิการ เป็นเจ้าของเรื่องแต่กรรมการคนใดคนหนึ่งโดยความเห็นชอบของประธานกรรมการจะยกประเด็นขึ้นหารือก็ได้
5.3.4 ให้นำข้อ 1.3.4 — ข้อ 1.3.8 ข้างต้น มาใช้บังคับด้วย
6. คณะกรรมการกลั่นกรองเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ 6 (ฝ่ายสาธารณสุข เทคโนโลยีสารสนเทศและวิทยาศาสตร์)
6.1 องค์ประกอบ
6.1.1 รองนายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการ
(นายสุชัย เจริญรัตนกุล)
6.1.2 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข รองประธานกรรมการ
6.1.3 รัฐมนตรีว่ากระทรวงเทคโนโลยี กรรมการ
สารสนเทศและการสื่อสาร
6.1.4 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ กรรมการ
และเทคโนโลยี
6.1.5 ผู้ช่วยรัฐมนตรีที่ประธานกรรมการ กรรมการ
มอบหมายให้เข้าประชุม
6.1.6 ปลัดกระทรวงการคลัง กรรมการ
6.1.7 ปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ กรรมการ
และการสื่อสาร
6.1.8 ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และ กรรมการ
เทคโนโลยี
6.1.9 ปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรรมการ
6.1.10 ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ กรรมการ
6.1.11 เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนา กรรมการ
การเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
6.1.12 เลขาธิการคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค กรรมการ
6.1.13 ผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ กรรมการ
และเทคโนโลยีแห่งชาติ
6.1.14 ผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กรรมการ
6.1.15 เลขาธิการคณะรัฐมนตรี กรรมการและ
เลขานุการ
6.1.16 รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรี กรรมการและ
ฝ่ายการเมืองประจำรองนายกรัฐมนตรี ผู้ช่วยเลขานุการ
(นายสุชัย เจริญรัตนกุล)
6.2 อำนาจหน้าที่
6.2.1 พิจารณากลั่นกรองเรื่องสำคัญในปัญหาที่เกี่ยวพันหรือมีผลกระทบต่อการสาธารณสุข การคุ้มครองผู้บริโภค เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ก่อนที่จะนำเสนอคณะรัฐมนตรี
6.2.2 ประเมิน วิเคราะห์ และเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางตัดสินใจเชิงรุกในประเด็นนโยบายตามข้อ 6.2.1 ตามนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องกับการสาธารณสุข การคุ้มครองผู้บริโภค เทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสาร วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี และบทบัญญัติในหมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ มาตรา 78 มาตรา 79 มาตรา 81 มาตรา 82 และมาตรา 87 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เพื่อเสนอต่อคณะรัฐมนตรี
6.2.3 พิจารณาเรื่องอื่นๆ ตามที่นายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย
6.3 กลไกการปฏิบัติงาน
6.3.1 ให้สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีจัดส่งเรื่องสำคัญในปัญหาตามข้อ 6.2.1 ตามที่กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานของรัฐเสนอมาเพื่อคณะรัฐมนตรีพิจารณา พร้อมทั้งความเห็นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเอกสารประกอบให้คณะกรรมการดังกล่าวพิจารณากลั่นกรองก่อนที่จะนำเสนอคณะรัฐมนตรี
6.3.2 เรื่องสำคัญตามคำสั่งนี้ซึ่งจะต้องเสนอคณะกรรมการหมายถึงเรื่องที่มีลักษณะตามข้อ 1.3.2 ข้างต้น
6.3.3 ในการเสนอปัญหาในเชิงรุกตามข้อ 6.2.2 ให้กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงสาธารณสุข สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเจ้าของเรื่อง แต่กรรมการคนใดคนหนึ่งโดยความเห็นชอบของประธานกรรมการจะยกประเด็นขึ้นหารือก็ได้
6.3.4 ให้นำข้อ 1.3.4 — ข้อ 1.3.8 ข้างต้น มาใช้บังคับด้วย
7. ให้มีการประชุมคณะกรรมการกลั่นกรองฯ อย่างน้อยเดือนละหนึ่งครั้งเว้นแต่ไม่มีเรื่องเข้าสู่การพิจารณาของคณะกรรมการกลั่นกรอง ฯ
ในกรณีที่ประธานกรรมการกลั่นกรอง ฯ ไม่อยู่ หรือไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้รองประธานกรรมการกลั่นกรองฯ เป็นผู้นัดประชุมและปฏิบัติหน้าที่เป็นประธานกรรมการกลั่นกรอง ฯ แทน เว้นแต่ในกรณีที่รองนายกรัฐมนตรีเข้าร่วมประชุมให้รองนายกรัฐมนตรีทำหน้าที่ประธานที่ประชุมคราวนั้นแทนรองประธานกรรมการกลั่นกรองฯ หากรองนายกรัฐมนตรีเข้าร่วมประชุมหลายคน ให้รองนายกรัฐมนตรีผู้อยู่ในลำดับต้นของคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 115 /2549 เรื่อง มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีรักษาราชการแทนนายกรัฐมนตรีและมอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีรักษาราชการแทนกัน เป็นประธาน
8. เมื่อคณะกรรมการกลั่นกรองฯ มีมติเป็นประการใด ให้นำเสนอนายกรัฐมนตรีอนุมัติและเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบ เว้นแต่คณะกรรมการกลั่นกรองฯ หรือนายกรัฐมนตรีจะเห็นควรดำเนินการเป็นประการอื่น ก็ให้ดำเนินการตามมติหรือคำสั่งการนั้น ให้ประธานกรรมการหรือรองประธานกรรมการเป็นผู้ลงนามในบันทึกเสนอมติคณะกรรมการกลั่นกรองฯ ต่อคณะรัฐมนตรี
9. ในกรณีที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวง ซึ่งเป็นกรรมการในคณะกรรมการกลั่นกรอง ฯ ไม่อาจเข้าประชุมได้ ให้มอบหมายรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเข้าประชุมแทน และหากจำเป็นอาจพิจารณามอบหมายให้ผู้บังคับบัญชาระดับสูง ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบและรู้ข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องที่คณะกรรมการกลั่นกรอง ฯ จะพิจารณาเป็นอย่างดี เป็นผู้เข้าประชุมแทน
ในกรณีที่ปลัดกระทรวง เลขาธิการ ผู้อำนวยการหรือตำแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นซึ่งเทียบเท่าปลัดกระทรวง ซึ่งเป็นกรรมการในคณะกรรมการกลั่นกรองฯ ไม่อาจเข้าประชุมได้ ให้มอบหมายรองปลัดกระทรวงรองเลขาธิการ หรือรองผู้อำนวยการเป็นผู้เข้าประชุมแทน
10. ในกรณีเห็นสมควร คณะกรรมการกลั่นกรอง ฯ ตามคำสั่งนี้จะจัดให้มีการประชุมคณะกรรมการกลั่นกรอง ฯ หลายคณะร่วมกัน เพื่อพิจารณาปัญหาคาบเกี่ยวให้เกิดความรอบคอบ ชัดเจน และมีการประสานสอดคล้องกันก็ได้
11. เรื่องใดที่ประธานกรรมการกลั่นกรองฯ คณะใดเห็นว่าเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องหรืออยู่ในอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการกลั่นกรอง ฯ คณะอื่นที่ไม่ใช่คณะของตนให้ประธานกรรมการกลั่นกรองฯ คณะนั้นมีอำนาจสั่งการให้เสนอคณะกรรมการกลั่นกรอง ฯ ตามที่เห็นสมควรเป็นผู้พิจารณาได้
12. ในกรณีเรื่องที่เสนอคณะกรรมการกลั่นกรองฯ เรื่องใด เป็นปัญหาข้อกฎหมาย หรือปัญหาเกี่ยวกับการตั้งหน่วยงาน การเพิ่มอัตรากำลังหรือมีผลกระทบต่อเงินเดือน ให้เสนอคณะกรรมการกลั่นกรองฯ คณะที่ 4.2 เป็น ผู้พิจารณา
13. ให้สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีและสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีอำนวยความสะดวกในการประชุมคณะกรรมการทุกคณะตามคำสั่งนี้ และมีอำนาจออกระเบียบหรือคำสั่งที่จำเป็นเพื่อให้การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ฝ่ายเลขานุการเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
14. ในกรณีที่มีปัญหาสำคัญเกี่ยวกับการปฏิบัติตามคำสั่งนี้ สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีอาจขอให้นายกรัฐมนตรีหรือที่ประชุมร่วมรองนายกรัฐมนตรีวินิจฉัยหรือสั่งการตามที่เห็นสมควรได้
บทเฉพาะกาล
15. ในระยะเริ่มแรก ให้สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีประสานกับรองนายกรัฐมนตรีซึ่งเป็นประธานคณะกรรมการกลั่นกรอง ฯ ทั้ง 6 คณะ เพื่อดำเนินการเกี่ยวกับเรื่องที่อยู่ระหว่างการจัดเข้าระเบียบวาระ ฯ ของคณะกรรมการกลั่นกรองฯ ทั้งหมด ให้เหมาะสมสอดคล้องกับกรอบอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการกลั่นกรอง ฯ ที่ได้จัดตั้งขึ้นใหม่ด้วย
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2549 เป็นต้นไป
13. มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีกำกับติดตามการปฏิบัติราชการในภูมิภาค
คณะรัฐมนตรีรับทราบคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรีที่ 137 /2549 เรื่อง มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีกำกับติดตามการปฏิบัติราชการในภูมิภาค
ตามที่ได้มีคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 117/2549 ลงวันที่ 27 มิถุนายน 2549 เรื่อง มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีกำกับติดตามการปฏิบัติราชการในภูมิภาคและกรุงเทพมหานคร นั้น
เพื่อให้การกำกับติดตามการปฏิบัติราชการเป็นไปด้วยความเรียบร้อย อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 11 (1) และ (9) และมาตรา 38 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี จึงให้ยกเลิกความในข้อ 1.4 และข้อ 1.8 ของคำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ 117/2549 ลงวันที่ 27 มิถุนายน 2549 และให้ใช้ความดังต่อไปนี้แทน
“1. พื้นที่
1.4 รองนายกรัฐมนตรี (นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ) กำกับติดตามการปฏิบัติราชการในพื้นที่ดังนี้
เขตตรวจราชการที่ 1 ของสำนักนายกรัฐมนตรี ได้แก่ จังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ น่าน พะเยา แพร่ แม่ฮ่องสอน ลำปาง ลำพูน
เขตตรวจราชการที่ 7 ของสำนักนายกรัฐมนตรี ได้แก่ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี สมุทรสงคราม สมุทรสาคร
เขตตรวจราชการที่ 16 ของสำนักนายกรัฐมนตรี ได้แก่ จังหวัดตรัง นครศรีธรรมราช พัทลุง
เขตตรวจราชการที่ 17 ของสำนักนายกรัฐมนตรี ได้แก่ จังหวัดกระบี่ พังงา ภูเก็ต
และให้มีอำนาจหน้าที่กำกับติดตามการปฏิบัติราชการในเขตตรวจราชการที่ 13 ของสำนักนายกรัฐมนตรี เฉพาะพื้นที่จังหวัดชัยภูมิและจังหวัดนครราชสีมา
1.8 รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (นายเนวิน ชิดชอบ)
1.8.1 กำกับติดตามการปฏิบัติราชการในพื้นที่ดังนี้
เขตตรวจราชการที่ 4 ของสำนักนายกรัฐมนตรี ได้แก่ จังหวัดนนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง
เขตตรวจราชการที่ 13 ของสำนักนายกรัฐมนตรี ได้แก่ จังหวัดสุรินทร์ บุรีรัมย์ (ยกเว้นการกำกับติดตามการปฏิบัติราชการในพื้นที่ตามความในวรรคท้ายของข้อ 1.4 )
1.8.2 กำกับติดตามการปฏิบัติราชการและการตรวจราชการตามนโยบายรัฐบาลและการสั่งการของนายกรัฐมนตรี”
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 เป็นต้นไป
14. แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการคดีพิเศษ
คณะรัฐมนตรีอนุมัติตามที่กระทรวงยุติธรรมเสนอให้แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการคดีพิเศษ จำนวน 9 คน แทนกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้ดำรงตำแหน่งมาครบกำหนด 2 ปี ตามวาระเมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2549 ดังนี้ 1. นายเกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมาย 2. พลตำรวจเอก จุมพล มั่นหมาย ผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมาย 3. นายชัช ชลวร ผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมาย 4. พลตำรวจตรี พีรพันธุ์ เปรมภูติ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมาย 5. นายเรวัต ฉ่ำเฉลิม ผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมาย 6. นายวีรพงษ์ รามางกูร ผู้ทรงคุณวุฒิด้านเศรษฐศาสตร์และการเงินการธนาคาร 7. นาวาตรี วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 8. นายวุฒิพันธุ์ วิชัยรัตน์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านเศรษฐศาสตร์ และ 9. นายโสภณ รัตนากร ผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมาย ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2549 เป็นต้นไป และสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีจะได้ส่งเรื่องให้คณะกรรมการการเลือกตั้งให้ความเห็นชอบ และนำความกราบบังคมทูลพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งต่อไป
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ชุดพ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร) (รักษาการนายกรัฐมนตรี) วันที่ 1 สิงหาคม 2549--จบ--