คณะรัฐมนตรีรับทราบผลการตรวจติดตามงานการพัฒนาและฟื้นฟูเกาะพีพี จังหวัดกระบี่ ตามที่สำนักนายกรัฐมนตรี สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีเสนอ และให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องให้ความร่วมมือในการพัฒนาเกาะพีพีโดยเร่งด่วนต่อไป
รองนายกรัฐมนตรี (นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ) ได้ไปติดตามผลการดำเนินงานการพัฒนาและฟื้นฟูเกาะพีพี ณ จังหวัดกระบี่ วันเสาร์ที่ 24 มิถุนายน 2549 โดยประชุมหารือกับส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย ผู้ว่าราชการจังหวัดกระบี่ อธิบดีกรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชยนาวี อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง รองอธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช ผู้อำนวยการฝ่ายบริหารการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขต 2 เลขาธิการสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ผู้แทนผู้อำนวยการสำนักประสานงานพื้นที่พิเศษ อพท. และหัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัดกระบี่ ผลการติดตามการดำเนินงานของส่วนราชการต่าง ๆ สรุปได้ดังนี้
ที่ ประเด็นเรื่อง การแก้ไขปัญหา มติที่ประชุม
1 กำหนดเส้นทางหนีภัยคลื่น จังหวัดกระบี่โดยนายก อบต. พื้นที่ที่ชาวบ้านยินยอมให้ 11 เส้นทาง
สึนามิ จำนวน 11 เส้นทาง อ่าวนางได้เจรจากับชาวบ้านแล้ว ซึ่ง 4 เส้นทาง ความกว้างไม่ถึง 5 เมตร
มี 4 เส้นทาง ที่ไม่สามารถ ไม่สามารถขยายเส้นทางให้ได้ ก็ให้ดำเนินการเท่าที่ชาวบ้านยกให้
ขยายความกว้างให้ได้ 5 เมตร โดยมอบหมายกรมโยธาธิการและ
อย่างต่ำ 5 เมตร ผังเมืองรับไปดำเนินการจัดทำโดย
เร่งด่วนต่อไป
2 การจัดตั้งชิ้นงานประติมากรรม กรมอุทยานแห่งชาติฯ ให้ใช้พื้นที่ ได้มอบหมายให้กระทรวงวัฒนธรรมไปดู
เนื่องจากบนเกาะพีพี ไม่มีผู้ประสงค์ บริเวณอุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ สถานที่และประสาน-งานกับจังหวัดกระบี่
จะยกที่ดินให้จัดตั้งชิ้นงานประติมากรรม ธารา ตำบลอ่าวนาง ในการดำเนินการติดตั้ง
จังหวัดจึงได้หาสถานที่ติดตั้งบน
แผ่นดินใหญ่บริเวณอุทยานแห่งชาติ
หาดนพรัตน์ธารา ต.อ่าวนาง
3 ระบบไฟฟ้าของกฟภ. ขอใช้ กฟภ.จะต้องลงทุนทั้งหมด 620 ล้าน รับทราบเรื่องงบลงทุน และให้ประสาน
งบประมาณ วงเงิน งบประมาณ บาท โดยขอกู้เงินจากประเทศ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ เพื่อขอ
620 ล้านบาท ฟินแลนด์ ซึ่งขณะนี้ได้นำเสนอผ่าน ทราบผลการกู้เงินให้นำเสนอ ครม.ตามที่
สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ กฟภ. ขอยกเว้นมติ ครม.
กระทรวงการคลัง พิจารณาแล้ว 3 มี.ค. 2535 เพื่อดำเนินการวาง
พร้อมทั้ง สผ. ได้มีหนังสือที่ แนวสายไฟฟ้าในท้องทะเล
ทส.1009/4584 ลงวันที่ 31 พ.ค.
2549 แจ้งให้ กฟภ.ขอยกเว้นมติ
ครม. 3 มี.ค. 2535 เรื่องแผนแม่บท
การจัดการปะการังของประเทศ
ซึ่งกำหนดห้ามทำการขุดร่องน้ำหรือการ
เปลี่ยนแปลงพื้นที่ท้องทะเลในระยะ
1 กิโลเมตร จากแนวปะการัง
4 ระบบประปา ใช้เงินงบประมาณ การประปาส่วนภูมิภาคไม่มีงบ ให้การประปาส่วนภูมิภาคเสนอขอใช้งบ
จำนวน 181 ล้านบาท มีปัญหา ประมาณดำเนินการ จังหวัดได้ขอใช้ ประมาณจากประธานคณะ-กรรมการกำกับ
เรื่องการลงทุน และที่ดิน ที่ดินสาธารณะจำนวน 6 ไร่เป็นที่ ดูแลกิจการประปาแห่งชาติ
วางระบบ สำหรับเงินลงทุนได้ขอใช้ (พลตำรวจเอกชิดชัย วรรณสถิตย์)
งบประมาณจากสำนักงานคณะกรรมการ พิจารณาโดยด่วนต่อไป
กำหนดนโยบายและกำกับดูแลกิจการ
ประปาแห่งชาติ
5 การกำหนดระยะแนวถอยร่นและ สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี มอบหมายสำนักงานนโยบายและแผน
ความสูงของอาคาร ตามประกาศ และจังหวัดได้มีหนังสือให้ 2 หน่วยงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ของกระทรวงทรัพยากรฯ และ พิจารณาแล้ว โดยสำนักงานนโยบาย พิจารณาดำเนินการและมอบหมายจังหวัด
กฎกระทรวงของกรมโยธิการฯ และแผนทรัพยากรธรรมชาติและ กระบี่ติดตามเรื่อง ให้กำหนดประกาศใช้
ไม่สามารถอนุญาตให้สร้างโรงแรมได้ สิ่งแวดล้อมได้ นำเข้าพิจารณาใน ให้เป็นแนวทางเดียวกัน โดยเร็ว
ที่ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาการ เพื่อที่ราษฎรจะได้ดำเนินการปรับปรุง
จัดการด้านสิ่งแวดล้อมในเขตพื้นที่ โรงแรม และสิ่งก่อสร้างได้
คุ้มครองสิ่งแวดล้อมฯเมื่อวันที่
23 มิถุนายน 2549 สรุปได้นี้
1.ความสูงของอาคาร 10 เมตร
โดยชั้นล่าง 1 เมตร เป็นพื้นที่โล่ง
ชั้นบนเป็นดาดฟ้า
2.ระยะแนวถอยร่นใช้แนวทางของ
บริษัท โมดัส คอลซัลแทนท์ จำกัด
- ระยะร่น 6 เมตร ตามขอบเขต
ที่ดินชายฝั่งทะเลเป็นผังหิน
- ระยะร่น 15 เมตร ตาม
ขอบเขตที่ดินชายฝั่งทะเลเป็น
หาดทราย เชิงผา
- ระยะร่น 30 เมตร
ชายทะเลที่ไม่มีการพัฒนา
3.สัดส่วนพื้นที่ว่างต่อพื้นที่
อาคารในสัดส่วน 60 : 40
4.ยกเลิกกฎกระทรวง ฉบับที่ 3 ให้มี
การก่อสร้างโรงแรมบนเกาะพีพี
โดยให้ผู้ประกอบการรายเดิมที่
ขออนุญาตถูกต้องก่อนเกิดคลื่นสึนามิ
ได้รับอนุญาตให้ก่อสร้างได้
6 การขออนุญาตใช้พื้นที่เขต จังหวัดได้ดำเนินการขออนุญาตใช้ ให้จังหวัดประสานงานไปยัง
อุทยาน จำนวน 2 แปลง เนื้อที่ พื้นที่ จากอุทยานแห่งชาติฯ แล้วกรม กรมอุทยานแห่งชาติฯอีกครั้ง
34 ไร่ เพื่อสร้างศูนย์ราชการ อุทยานแห่งชาติไม่อนุญาตเนื่องจาก ให้ชี้แจงความจำเป็น เหตุผลที่ขอใช้พื้นที่
ขัดมาตรา 16 แต่จังหวัดยังยืนยัน
และขอใช้เฉพาะที่จำเป็น
7 การก่อสร้างท่าเทียบเรือ กรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชยนาวี ให้กรมการขนส่งทางน้ำ ฯ ปรับระยะ
รายงานว่าอยู่ระหว่างปรับปรุงแบบ เวลาการก่อสร้างให้เร็วขึ้น
งบประมาณอยู่ในวงเงินไม่เกิน
90 ล้านบาท เปิดประมูลได้ภายใน
เดือนกรกฎาคม
8 การก่อสร้างบ้านพักถาวรแก่ มูลนิธิศุภนิมิตได้ออกแบบถนน ให้จังหวัดติดตามประสานงานกรมป่าไม้
ผู้ประสบภัย จำนวน 206 หลัง ระบบประปา ระบบไฟฟ้าและ เพื่อเร่งรัดการดำเนินการขอใช้ที่ดิน
บนที่ดินตนเอง 49 หลัง ที่ดิน ประมาณการค่าใช้จ่ายเพื่อของบ ของกรมป่าไม้ต่อไป
ของรัฐ 157 หลัง งบประมาณ ประมาณสนับสนุนแล้ว
108 ล้านบาท เรื่องที่ดินอยู่ระหว่างการพิจารณา
ของกรมป่าไม้
9 โรงพยาบาลเกาะพีพี 1.อยู่ระหว่างการดำเนินการซ่อมแซม -
ของผู้รับจ้าง วงเงิน
4,801,000 บาท
10 โรงเรียนบนเกาะพีพี ได้ซ่อมแซมปรับปรุงอาคารเดิม -
งบประมาณ 7,800,000 บาท
2.ก่อสร้างอาคารเรียน 1 หลัง
โดยเงินพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ
11 สนามเฮลิคอปเตอร์ ขอใช้สนามหน้าโรงเรียน ให้จังหวัดประสานกรมอุทยานฯ
เป็นที่จอดเฮลิคอปเตอร์ชั่วคราว เรื่องการขอใช้ที่ดิน
สำหรับลานจอดเฮลิคอปเตอร์ถาวรอยู่
ระหว่างการขอใช้ที่ดินฯ จากกรม-
อุทยานแห่งชาติ
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ชุดพ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร) (รักษาการนายกรัฐมนตรี) วันที่ 27 มิถุนายน 2549--จบ--
รองนายกรัฐมนตรี (นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ) ได้ไปติดตามผลการดำเนินงานการพัฒนาและฟื้นฟูเกาะพีพี ณ จังหวัดกระบี่ วันเสาร์ที่ 24 มิถุนายน 2549 โดยประชุมหารือกับส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย ผู้ว่าราชการจังหวัดกระบี่ อธิบดีกรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชยนาวี อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง รองอธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช ผู้อำนวยการฝ่ายบริหารการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขต 2 เลขาธิการสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ผู้แทนผู้อำนวยการสำนักประสานงานพื้นที่พิเศษ อพท. และหัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัดกระบี่ ผลการติดตามการดำเนินงานของส่วนราชการต่าง ๆ สรุปได้ดังนี้
ที่ ประเด็นเรื่อง การแก้ไขปัญหา มติที่ประชุม
1 กำหนดเส้นทางหนีภัยคลื่น จังหวัดกระบี่โดยนายก อบต. พื้นที่ที่ชาวบ้านยินยอมให้ 11 เส้นทาง
สึนามิ จำนวน 11 เส้นทาง อ่าวนางได้เจรจากับชาวบ้านแล้ว ซึ่ง 4 เส้นทาง ความกว้างไม่ถึง 5 เมตร
มี 4 เส้นทาง ที่ไม่สามารถ ไม่สามารถขยายเส้นทางให้ได้ ก็ให้ดำเนินการเท่าที่ชาวบ้านยกให้
ขยายความกว้างให้ได้ 5 เมตร โดยมอบหมายกรมโยธาธิการและ
อย่างต่ำ 5 เมตร ผังเมืองรับไปดำเนินการจัดทำโดย
เร่งด่วนต่อไป
2 การจัดตั้งชิ้นงานประติมากรรม กรมอุทยานแห่งชาติฯ ให้ใช้พื้นที่ ได้มอบหมายให้กระทรวงวัฒนธรรมไปดู
เนื่องจากบนเกาะพีพี ไม่มีผู้ประสงค์ บริเวณอุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ สถานที่และประสาน-งานกับจังหวัดกระบี่
จะยกที่ดินให้จัดตั้งชิ้นงานประติมากรรม ธารา ตำบลอ่าวนาง ในการดำเนินการติดตั้ง
จังหวัดจึงได้หาสถานที่ติดตั้งบน
แผ่นดินใหญ่บริเวณอุทยานแห่งชาติ
หาดนพรัตน์ธารา ต.อ่าวนาง
3 ระบบไฟฟ้าของกฟภ. ขอใช้ กฟภ.จะต้องลงทุนทั้งหมด 620 ล้าน รับทราบเรื่องงบลงทุน และให้ประสาน
งบประมาณ วงเงิน งบประมาณ บาท โดยขอกู้เงินจากประเทศ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ เพื่อขอ
620 ล้านบาท ฟินแลนด์ ซึ่งขณะนี้ได้นำเสนอผ่าน ทราบผลการกู้เงินให้นำเสนอ ครม.ตามที่
สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ กฟภ. ขอยกเว้นมติ ครม.
กระทรวงการคลัง พิจารณาแล้ว 3 มี.ค. 2535 เพื่อดำเนินการวาง
พร้อมทั้ง สผ. ได้มีหนังสือที่ แนวสายไฟฟ้าในท้องทะเล
ทส.1009/4584 ลงวันที่ 31 พ.ค.
2549 แจ้งให้ กฟภ.ขอยกเว้นมติ
ครม. 3 มี.ค. 2535 เรื่องแผนแม่บท
การจัดการปะการังของประเทศ
ซึ่งกำหนดห้ามทำการขุดร่องน้ำหรือการ
เปลี่ยนแปลงพื้นที่ท้องทะเลในระยะ
1 กิโลเมตร จากแนวปะการัง
4 ระบบประปา ใช้เงินงบประมาณ การประปาส่วนภูมิภาคไม่มีงบ ให้การประปาส่วนภูมิภาคเสนอขอใช้งบ
จำนวน 181 ล้านบาท มีปัญหา ประมาณดำเนินการ จังหวัดได้ขอใช้ ประมาณจากประธานคณะ-กรรมการกำกับ
เรื่องการลงทุน และที่ดิน ที่ดินสาธารณะจำนวน 6 ไร่เป็นที่ ดูแลกิจการประปาแห่งชาติ
วางระบบ สำหรับเงินลงทุนได้ขอใช้ (พลตำรวจเอกชิดชัย วรรณสถิตย์)
งบประมาณจากสำนักงานคณะกรรมการ พิจารณาโดยด่วนต่อไป
กำหนดนโยบายและกำกับดูแลกิจการ
ประปาแห่งชาติ
5 การกำหนดระยะแนวถอยร่นและ สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี มอบหมายสำนักงานนโยบายและแผน
ความสูงของอาคาร ตามประกาศ และจังหวัดได้มีหนังสือให้ 2 หน่วยงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ของกระทรวงทรัพยากรฯ และ พิจารณาแล้ว โดยสำนักงานนโยบาย พิจารณาดำเนินการและมอบหมายจังหวัด
กฎกระทรวงของกรมโยธิการฯ และแผนทรัพยากรธรรมชาติและ กระบี่ติดตามเรื่อง ให้กำหนดประกาศใช้
ไม่สามารถอนุญาตให้สร้างโรงแรมได้ สิ่งแวดล้อมได้ นำเข้าพิจารณาใน ให้เป็นแนวทางเดียวกัน โดยเร็ว
ที่ประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาการ เพื่อที่ราษฎรจะได้ดำเนินการปรับปรุง
จัดการด้านสิ่งแวดล้อมในเขตพื้นที่ โรงแรม และสิ่งก่อสร้างได้
คุ้มครองสิ่งแวดล้อมฯเมื่อวันที่
23 มิถุนายน 2549 สรุปได้นี้
1.ความสูงของอาคาร 10 เมตร
โดยชั้นล่าง 1 เมตร เป็นพื้นที่โล่ง
ชั้นบนเป็นดาดฟ้า
2.ระยะแนวถอยร่นใช้แนวทางของ
บริษัท โมดัส คอลซัลแทนท์ จำกัด
- ระยะร่น 6 เมตร ตามขอบเขต
ที่ดินชายฝั่งทะเลเป็นผังหิน
- ระยะร่น 15 เมตร ตาม
ขอบเขตที่ดินชายฝั่งทะเลเป็น
หาดทราย เชิงผา
- ระยะร่น 30 เมตร
ชายทะเลที่ไม่มีการพัฒนา
3.สัดส่วนพื้นที่ว่างต่อพื้นที่
อาคารในสัดส่วน 60 : 40
4.ยกเลิกกฎกระทรวง ฉบับที่ 3 ให้มี
การก่อสร้างโรงแรมบนเกาะพีพี
โดยให้ผู้ประกอบการรายเดิมที่
ขออนุญาตถูกต้องก่อนเกิดคลื่นสึนามิ
ได้รับอนุญาตให้ก่อสร้างได้
6 การขออนุญาตใช้พื้นที่เขต จังหวัดได้ดำเนินการขออนุญาตใช้ ให้จังหวัดประสานงานไปยัง
อุทยาน จำนวน 2 แปลง เนื้อที่ พื้นที่ จากอุทยานแห่งชาติฯ แล้วกรม กรมอุทยานแห่งชาติฯอีกครั้ง
34 ไร่ เพื่อสร้างศูนย์ราชการ อุทยานแห่งชาติไม่อนุญาตเนื่องจาก ให้ชี้แจงความจำเป็น เหตุผลที่ขอใช้พื้นที่
ขัดมาตรา 16 แต่จังหวัดยังยืนยัน
และขอใช้เฉพาะที่จำเป็น
7 การก่อสร้างท่าเทียบเรือ กรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชยนาวี ให้กรมการขนส่งทางน้ำ ฯ ปรับระยะ
รายงานว่าอยู่ระหว่างปรับปรุงแบบ เวลาการก่อสร้างให้เร็วขึ้น
งบประมาณอยู่ในวงเงินไม่เกิน
90 ล้านบาท เปิดประมูลได้ภายใน
เดือนกรกฎาคม
8 การก่อสร้างบ้านพักถาวรแก่ มูลนิธิศุภนิมิตได้ออกแบบถนน ให้จังหวัดติดตามประสานงานกรมป่าไม้
ผู้ประสบภัย จำนวน 206 หลัง ระบบประปา ระบบไฟฟ้าและ เพื่อเร่งรัดการดำเนินการขอใช้ที่ดิน
บนที่ดินตนเอง 49 หลัง ที่ดิน ประมาณการค่าใช้จ่ายเพื่อของบ ของกรมป่าไม้ต่อไป
ของรัฐ 157 หลัง งบประมาณ ประมาณสนับสนุนแล้ว
108 ล้านบาท เรื่องที่ดินอยู่ระหว่างการพิจารณา
ของกรมป่าไม้
9 โรงพยาบาลเกาะพีพี 1.อยู่ระหว่างการดำเนินการซ่อมแซม -
ของผู้รับจ้าง วงเงิน
4,801,000 บาท
10 โรงเรียนบนเกาะพีพี ได้ซ่อมแซมปรับปรุงอาคารเดิม -
งบประมาณ 7,800,000 บาท
2.ก่อสร้างอาคารเรียน 1 หลัง
โดยเงินพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ
11 สนามเฮลิคอปเตอร์ ขอใช้สนามหน้าโรงเรียน ให้จังหวัดประสานกรมอุทยานฯ
เป็นที่จอดเฮลิคอปเตอร์ชั่วคราว เรื่องการขอใช้ที่ดิน
สำหรับลานจอดเฮลิคอปเตอร์ถาวรอยู่
ระหว่างการขอใช้ที่ดินฯ จากกรม-
อุทยานแห่งชาติ
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ชุดพ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร) (รักษาการนายกรัฐมนตรี) วันที่ 27 มิถุนายน 2549--จบ--