คณะรัฐมนตรีรับทราบตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์รายงานสถานการณ์ในช่วงฤดูแล้งปี 2549 ด้านการเกษตร (ช่วงวันที่ 5 — 11
พฤษภาคม 2549) ประกอบด้วย พื้นที่การเกษตรคาดว่าจะได้รับผลกระทบ สถานการณ์น้ำ ผลการเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง และแผนปฏิบัติการฝนหลวง
ดังนี้
1. ผลกระทบด้านการเกษตรจากภัยแล้ง รายงานพื้นที่การเกษตรอาจได้รับผลกระทบ ณ วันที่ 10 พฤษภาคม 2549 ดังนี้
1.1 ด้านพืช พื้นที่ทำการเกษตรอาจได้รับผลกระทบ จำนวน 19 จังหวัด คือ จังหวัดกำแพงเพชร เชียงใหม่ พิจิตร พิษณุโลก แพร่
ลำปาง สุโขทัย ขอนแก่น นครพนม ยโสธร เลย หนองคาย หนองบัวลำภู อุบลราชธานี สิงห์บุรี จันทบุรีประจวบคีรีขันธ์ สุพรรณบุรี และพังงา พื้นที่
516,045 ไร่ แบ่งเป็น ข้าว 214,661 ไร่ พืชไร่-พืชผัก 168,570.50 ไร่ พืชสวนและอื่นๆ 132,813.50 ไร่
1.2 ด้านประมง ได้รับผลกระทบ จำนวน 3 จังหวัด คือ จังหวัดเลย มหาสารคาม และอุบลราชธานี พื้นที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
252 กระชัง คิดเป็นพื้นที่ 3,416 ตารางเมตร
1.3 ด้านปศุสัตว์ สัตว์ได้รับผลกระทบ จำนวน 3 จังหวัด คือ จังหวัดพิษณุโลก ลำปาง และชัยนาท จำนวน 22,709 ตัว
แบ่งเป็น โค 7,108 ตัว กระบือ 523 ตัว แพะ 485 ตัว สัตว์ปีก 14,593 ตัว
พื้นที่ที่อาจได้รับผลกระทบด้านพืช หากไม่ได้รับการช่วยเหลือจะเกิดความเสียหายคิดเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจ 190,560,944
บาท (ที่ระดับความเสียหายร้อยละ 10) แยกตามรายภาคได้ดังนี้
ภาค จังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน ผลกระทบด้านการเกษตร
พืช ประมง ปศุสัตว์
จังหวัด เกษตรกร พื้นที่ จังหวัด เกษตรกร จังหวัด เกษตรกร
(ราย) (ไร่) (ราย) (ราย)
เหนือ 7 21 85 552 7 42,541 268,595.50 - - 2 1,235
ตะวันออกเฉียงเหนือ 8 13 57 373 7 6,634 43,514.50 3 58 - -
กลาง 2 1 1 3 1 108 2,748.00 - 1 50
ตะวันออก 1 1 2 12 1 190 765 - - -
ตะวันตก 2 5 19 202 2 36,818 169,497.00 - - -
ใต้ 1 8 1 30,925.00 - - -
รวม 21 49 164 1,142 19 86,291 516,045.00 3 58 3 1,285
1.4 การเปรียบเทียบ พื้นที่การเกษตรด้านพืชที่ได้รับผลกระทบปี 2548 จำนวน 1,043,439 ไร่ ในปี 2549 มีพื้นที่ได้รับ
ผลกระทบ จำนวน 516,045 ไร่ น้อยกว่าปี 2548 จำนวน 527,394 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 51 ซึ่งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ดำเนินการ
ติดตามสถานการณ์ และให้ความช่วยเหลือพื้นที่อาจได้รับผลกระทบอย่างต่อเนื่อง โดยการปฏิบัติการฝนหลวง การจัดสรรน้ำ การสนับสนุน
เครื่องสูบน้ำและรถยนต์บรรทุกน้ำ ประกอบกับมีฝนตกในพื้นที่ต่างๆ ทำให้พื้นที่ที่อาจได้รับผลกระทบลดลงในสัปดาห์นี้ จำนวน 2,568 ไร่
รวมพื้นที่ลดลง จำนวน 468,979.50 ไร่ คิดเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจที่ช่วยเหลือได้ 184,984,968.00 บาท คงเหลือพื้นที่ที่ต้องได้รับความ
ช่วยเหลืออีก 47,065.50 ไร่
ภาค พื้นที่ที่ได้รับการช่วยเหลือและไม่เสียหายแล้ว (ไร่) คงเหลือพื้นที่ที่อาจได้รับผลกระทบ (ไร่)
ข้าว พืชไร่-พืชผัก พืชสวน รวม มูลค่าทางเศรษฐกิจ (บาท) ข้าว พืชไร่ พืชสวน รวม
และอื่นๆ พืชผัก และอื่นๆ
เหนือ 162,482.00 70,587.50 6,083.00 239,152.50 116,844,883.00 9,154.00 20,220.00 69.00 29,443.00
ตะวันออกเฉียงเหนือ 6,532.00 13,330.00 6,030.00 25,892.00 21,158,120.00 - 14,793.00 2,829.50 17,622.50
กลาง 2,748.00 - - 2,748.00 1,237,977.00 - - - -
ตะวันออก 15.00 10.00 740.00 765.00 9,352.00 - - - -
ตะวันตก 33,730.00 46,537.00 89,230.00 169,497.00 38,653,213.00 - - - -
ใต้ - 3,093.00 27,832.00 30,925.00 7,081,423.00 - - - -
รวม 205,507.00 133,557.50 129,915.00 468,979.50 184,984,968.00 9,154.00 35,013.00 2,898.50 47,065.50
2. ผลกระทบด้านการเกษตรจากวาตภัย รายงานพื้นที่การเกษตรได้รับผลกระทบ ณ วันที่ 10 พฤษภาคม 2549 ดังนี้
ด้านพืช พื้นที่ทำการเกษตรได้รับผลกระทบ ระหว่างวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ถึง 20 เมษายน 2549 จำนวน 24 จังหวัด (เพิ่มขึ้นจาก
สัปดาห์ก่อน 1 จังหวัด คือ จังหวัดศรีสะเกษ) ได้แก่ จังหวัดตาก กำแพงเพชร เชียงใหม่ เชียงราย น่าน พะเยา พิษณุโลก เพชรบูรณ์ แพร่ ลำพูน
ขอนแก่น ชัยภูมิ นครราชสีมา มุกดาหาร ศรีสะเกษ เลย หนองคาย อุดรธานี กรุงเทพ ปทุมธานี กาญจนบุรี ราชบุรี สมุทรสาคร และสุราษฎร์ธานี
พื้นที่ประสบภัย 30,596.75 ไร่ คาดว่าจะเสียหาย 24,297.75 ไร่ แบ่งเป็น ข้าว 698 ไร่ พืชไร่-พืชผัก 12,683.50 ไร่ พืชอื่นๆ
10,916.25 ไร่ และเห็ด 50,000 ก้อน
ภาค จังหวัด อำเภอ ตำบล เกษตรกร พื้นที่ประสบภัย พื้นที่คาดว่าจะเสียหาย (ไร่)
(ราย) (ไร่) ข้าว พืชไร่-พืชผัก พืชอื่นๆ รวม
เหนือ 10 17 28 2,384 18,240.75 698.00 9,441.50 6,196.25 16,335.75
ตะวันออกเฉียงเหนือ 8 12 18 1,233 6,040.00 - 3,126.00 1,083.00 4,209.00
กลาง 2 2 1 261 4,985.00 - 2,726.00 2,726.00
ตะวันตก 3 3 9 103 781.00 - 116.00 661.00 777.00
ใต้ 1 1 1 50 550.00 - 250.00 250.00
รวม 24 35 57 4,031 30,596.75 698.00 12,683.50 10,916.25 24,297.75
ขณะนี้อยู่ระหว่างการสำรวจความเสียหายและจะดำเนินการให้ความช่วยเหลือ
3. การให้ความช่วยเหลือพื้นที่การเกษตรและเกษตรกร
ดำเนินการปฏิบัติการฝนหลวง การจัดสรรน้ำ การสนับสนุนเครื่องสูบน้ำ รถบรรทุกน้ำ การสนับสนุนเสบียงอาหารสัตว์ และการ
ส่งเสริมอาชีพ ดังนี้
ผลการดำเนินงาน
กิจกรรม ผลการดำเนินการแล้ว (สะสม) ช่วงวันที่ 5-11 พ.ค. 49
1. การปฏิบัติการฝนหลวง - ขึ้นปฏิบัติการ 2,137 เที่ยวบิน - ขึ้นปฏิบัติการ 184 เที่ยวบิน
โดยหน่วยปฏิบัติการฝนหลวงจำนวน 8 หน่วย - มีปริมาณฝนตกเล็กน้อย-ปานกลาง - มีปริมาณฝนตกเล็กน้อย-
(เชียงใหม่ พิษณุโลก ลพบุรี ขอนแก่น นครราชสีมา ถึงหนัก ใน 67 จังหวัด ปานกลางถึงหนัก ใน 57 จังหวัด
ระยอง หัวหิน สุราษฎร์ธานี) และ 6 ฐานเติม - มีน้ำไหลลงอ่างเก็บน้ำเป้าหมาย - มีน้ำไหลลงอ่างเก็บน้ำเป้าหมาย
สารฝนหลวง (ตาก นครสวรรค์ อุดรธานี 11 อ่าง รวม 335.91 ล้านลบ.ม. 11 อ่าง รวม 24.59 ล้านลบ.ม.
อุบลราชธานี จันทบุรี และภูเก็ต)
เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 ก.พ. 2549
2. ด้านชลประทาน
2.1 การจัดสรรน้ำ เพื่อการเกษตร การประปา ระบายน้ำจากอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่เพื่อ ระบายน้ำจากอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่
การเดินเรือและผลักดันน้ำเค็ม สนับสนุนการปลูกพืชฤดูแล้ง ระหว่าง จำนวน 688.80 ล้าน ลบ.ม.
วันที่ 1 พ.ย. 48 — 30 เม.ย. 49
จำนวน 17,740 ล้าน ลบ.ม.
2.2 สนับสนุนเครื่องสูบน้ำและรถยนต์บรรทุกน้ำ - เครื่องสูบน้ำ 663 เครื่อง - เครื่องสูบน้ำ 663 เครื่อง
ช่วยเหลือพื้นที่การเกษตรได้ 589,907 ไร่ - รถยนต์บรรทุกน้ำ 57 คัน
แบ่งเป็นข้าว 533,118 ไร่ พืชไร่-พืชผัก
52,789 ไร่ และช่วยเหลือการอุปโภค-
บริโภค 16.49 ล้าน ลบ.ม.
- รถยนต์บรรทุกน้ำ 57 คัน ช่วยเหลือได้
1,072 ครัวเรือน ปริมาณน้ำ 6.61 ล้านลิตร
3. ด้านปศุสัตว์ สนับสนุนเสบียงอาหารสัตว์ 52,000 กิโลกรัม -
เวชภัณฑ์ 2,442 ซอง แร่ธาตุ 926 ก้อน
4. ด้านการส่งเสริมอาชีพ เช่น - กลุ่มสตรี/กลุ่มอาชีพ/สหกรณ์ 169 1.จัดสรรงบประมาณเพื่อการ
- การปลูกพืชใช้น้ำน้อย ได้แก่ กลุ่ม/สหกรณ์ จำนวนสมาชิก 6,472 ราย อบรมถ่ายทอดเทคโนโลยี
การเพาะเห็ด ปลูกดอกแกลดิโอลิส - กลุ่มเกษตรกร 1,355 กลุ่ม จำนวน กลุ่มละ 16,000 บาท
ถั่วเหลือง ปลูกผักปลอดสารพิษ สมาชิก 24,721 ราย 2.พัฒนาการผลิตทำงบต้นทุน
การผลิตมะนาวนอกฤดูในวงบ่อ การผลิตให้แก่กลุ่มผู้ผลิต
- การเลี้ยงสัตว์ ได้แก่ เลี้ยงโคขุน 3.จัดสรรงบประมาณเพื่อเป็นทุนของ
- การส่งเสริมอาชีพเสริม ได้แก่ การทำปุ๋ยหมัก กลุ่มจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
การแปรรูปผลผลิตการเกษตร การทอผ้า การผลิต กลุ่มละ 40,000 บาท
หัตถกรรม ดอกไม้ประดิษฐ์
5. ด้านการปรับปรุงบำรุงดิน ดำเนินการรวมพื้นที่ 336,950 ไร่ ดำเนินการในพื้นที่ 14,815 ไร่
เป้าหมาย ใน 75 จังหวัด พื้นที่ 921,025 ไร่ แบ่งเป็น แบ่งเป็น
แบ่งเป็น ในเขต 154,443 ไร่ นอกเขต ในเขตชลประทาน 42,646 ไร่ ในเขตชลประทาน 272 ไร่
766,582 ไร่ นอกเขตชลประทาน 294,304 ไร่ นอกเขตชลประทาน 14,543 ไร่
4. สถานการณ์น้ำและการเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง
4.1 สถานการณ์น้ำ
- ปริมาตรน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ทั่วประเทศ ณ วันที่ 14 พฤษภาคม 2549 มีปริมาตรน้ำในอ่างฯ ทั้งหมด 42,994
ล้าน ลบ.ม. คิดเป็นร้อยละ 63 ของความจุอ่างฯ ซึ่งมากกว่าปี 2548 จำนวน 7,755 ล้าน ลบ.ม. ในช่วงเวลาเดียวกัน
- อ่างเก็บน้ำที่มีปริมาตรน้ำในอ่างฯอยู่ในเกณฑ์น้อย จำนวน 2 อ่างฯ คือ อุบลรัตน์ และบางพระ มีการประชาสัมพันธ์ให้
งดการปลูกพืชฤดูแล้ง และให้สงวนน้ำเพื่อการอุปโภค-บริโภค ซึ่งจะมีเพียงพอตลอดช่วงฤดูแล้ง สำหรับอ่างเก็บน้ำลำนางรอง มีปริมาณน้ำในอ่างฯ
ร้อยละ 31 และอ่างเก็บน้ำทับเสลา มีปริมาณน้ำในอ่างฯร้อยละ 34 มีการใช้น้ำเพื่อการอุปโภคบริโภคอย่างเดียวและมีการใช้น้ำอยู่ในเกณฑ์น้อย
ประมาณ วันละ 0.04-0.05 ล้านลบ.ม. ซึ่งจะไม่มีผลกระทบต่อปริมาณน้ำในอ่างฯที่มีอยู่ ประกอบกับใกล้เข้าสู่ต้นฤดูฝน สภาพน้ำในอ่างฯทั้งสอง
จึงมีปริมาณน้ำเพียงพอและจะไม่เกิดปัญหาขาดแคลนน้ำแต่อย่างใด
4.2 การปลูกพืชฤดูแล้ง ณ วันที่ 30 เมษายน 2549 หน่วย : ล้านไร่
พื้นที่ ในเขตชลประทาน นอกเขตชลประทาน รวม
ชนิดพืช ข้าว พืชไร่-พืชผัก รวม ข้าว พืชไร่-พืชผัก รวม ข้าว พืชไร่-พืชผัก รวม
เป้าหมาย 5.84 0.87 6.71 1.94 1.79 3.73 7.78 2.66 10.44
ปลูกแล้ว 9.23 0.77 10.00 2.74 1.82 4.56 11.97 2.59 14.56
เก็บเกี่ยว 4.30 0.27 4.57 0.83 0.73 1.56 5.13 1.00 6.13
พื้นที่ยังไม่เก็บเกี่ยว 4.93 0.50 5.43 1.91 1.09 3.00 6.84 1.59 8.43
5. แผนการช่วยเหลือระหว่างวันที่ 12-18 พฤษภาคม 2549
กิจกรรม แผนการดำเนินการ
1. การปฏิบัติการฝนหลวง 1. เพื่อช่วยเหลือพื้นที่เพาะปลูกใน 44 จังหวัด
โดยหน่วยปฏิบัติการฝนหลวงจำนวน 8 หน่วย (เชียงใหม่ 2. เพิ่มความชุ่มชื้นให้กับป่าไม้เพื่อลดความรุนแรงของไฟป่า
พิษณุโลก ลพบุรี ขอนแก่น นครราชสีมา ระยอง หัวหิน 3. เพิ่มปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำมีน้ำไหลลงอ่างเก็บน้ำ
สุราษฎร์ธานี) และ 6 ฐานเติมสารฝนหลวง (ตาก นครสวรรค์ เป้าหมาย 11 อ่าง ได้แก่ ทับเสลา กระเสียว อุบลรัตน์
อุดรธานี อุบลราชธานี จันทบุรี และภูเก็ต) เริ่มตั้งแต่ มูลบน ลำแซะ ลำตะคอง ลำนางรอง บางพระ ดอกกราย
วันที่ 1 ก.พ. 2549 หนองปลาไหล และบางวาด
2. ด้านชลประทาน
มีแผนเตรียมเครื่องสูบน้ำเคลื่อนที่ และรถยนต์บรรทุกน้ำ - เครื่องสูบน้ำเคลื่อนที่ จำนวน 1,200 เครื่อง แยกเป็น
เพื่อช่วยเหลือการเพาะปลูกพืช การอุปโภค-บริโภคในช่วงฤดูแล้ง ภาคเหนือ 285 เครื่อง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
จำนวน 1,200 เครื่อง และ 295 คัน ตามลำดับ 340 เครื่อง ภาคกลาง 270 เครื่อง
ภาคตะวันออก 70 เครื่อง ภาคตะวันตก 60 เครื่อง
และภาคใต้ 175 เครื่อง
- รถยนต์บรรทุกน้ำ จำนวน 295 ค้น แยกเป็น ภาคเหนือ
55 คัน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 90 คัน ภาคกลาง
36 คัน ภาคตะวันออก 64 คัน ภาคตะวันตก 14 คัน
และภาคใต้ 36 คัน
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ชุดพ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร) (รักษาการนายกรัฐมนตรี) วันที่ 16 พฤษภาคม 2549--จบ--
พฤษภาคม 2549) ประกอบด้วย พื้นที่การเกษตรคาดว่าจะได้รับผลกระทบ สถานการณ์น้ำ ผลการเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง และแผนปฏิบัติการฝนหลวง
ดังนี้
1. ผลกระทบด้านการเกษตรจากภัยแล้ง รายงานพื้นที่การเกษตรอาจได้รับผลกระทบ ณ วันที่ 10 พฤษภาคม 2549 ดังนี้
1.1 ด้านพืช พื้นที่ทำการเกษตรอาจได้รับผลกระทบ จำนวน 19 จังหวัด คือ จังหวัดกำแพงเพชร เชียงใหม่ พิจิตร พิษณุโลก แพร่
ลำปาง สุโขทัย ขอนแก่น นครพนม ยโสธร เลย หนองคาย หนองบัวลำภู อุบลราชธานี สิงห์บุรี จันทบุรีประจวบคีรีขันธ์ สุพรรณบุรี และพังงา พื้นที่
516,045 ไร่ แบ่งเป็น ข้าว 214,661 ไร่ พืชไร่-พืชผัก 168,570.50 ไร่ พืชสวนและอื่นๆ 132,813.50 ไร่
1.2 ด้านประมง ได้รับผลกระทบ จำนวน 3 จังหวัด คือ จังหวัดเลย มหาสารคาม และอุบลราชธานี พื้นที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
252 กระชัง คิดเป็นพื้นที่ 3,416 ตารางเมตร
1.3 ด้านปศุสัตว์ สัตว์ได้รับผลกระทบ จำนวน 3 จังหวัด คือ จังหวัดพิษณุโลก ลำปาง และชัยนาท จำนวน 22,709 ตัว
แบ่งเป็น โค 7,108 ตัว กระบือ 523 ตัว แพะ 485 ตัว สัตว์ปีก 14,593 ตัว
พื้นที่ที่อาจได้รับผลกระทบด้านพืช หากไม่ได้รับการช่วยเหลือจะเกิดความเสียหายคิดเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจ 190,560,944
บาท (ที่ระดับความเสียหายร้อยละ 10) แยกตามรายภาคได้ดังนี้
ภาค จังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน ผลกระทบด้านการเกษตร
พืช ประมง ปศุสัตว์
จังหวัด เกษตรกร พื้นที่ จังหวัด เกษตรกร จังหวัด เกษตรกร
(ราย) (ไร่) (ราย) (ราย)
เหนือ 7 21 85 552 7 42,541 268,595.50 - - 2 1,235
ตะวันออกเฉียงเหนือ 8 13 57 373 7 6,634 43,514.50 3 58 - -
กลาง 2 1 1 3 1 108 2,748.00 - 1 50
ตะวันออก 1 1 2 12 1 190 765 - - -
ตะวันตก 2 5 19 202 2 36,818 169,497.00 - - -
ใต้ 1 8 1 30,925.00 - - -
รวม 21 49 164 1,142 19 86,291 516,045.00 3 58 3 1,285
1.4 การเปรียบเทียบ พื้นที่การเกษตรด้านพืชที่ได้รับผลกระทบปี 2548 จำนวน 1,043,439 ไร่ ในปี 2549 มีพื้นที่ได้รับ
ผลกระทบ จำนวน 516,045 ไร่ น้อยกว่าปี 2548 จำนวน 527,394 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 51 ซึ่งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ดำเนินการ
ติดตามสถานการณ์ และให้ความช่วยเหลือพื้นที่อาจได้รับผลกระทบอย่างต่อเนื่อง โดยการปฏิบัติการฝนหลวง การจัดสรรน้ำ การสนับสนุน
เครื่องสูบน้ำและรถยนต์บรรทุกน้ำ ประกอบกับมีฝนตกในพื้นที่ต่างๆ ทำให้พื้นที่ที่อาจได้รับผลกระทบลดลงในสัปดาห์นี้ จำนวน 2,568 ไร่
รวมพื้นที่ลดลง จำนวน 468,979.50 ไร่ คิดเป็นมูลค่าทางเศรษฐกิจที่ช่วยเหลือได้ 184,984,968.00 บาท คงเหลือพื้นที่ที่ต้องได้รับความ
ช่วยเหลืออีก 47,065.50 ไร่
ภาค พื้นที่ที่ได้รับการช่วยเหลือและไม่เสียหายแล้ว (ไร่) คงเหลือพื้นที่ที่อาจได้รับผลกระทบ (ไร่)
ข้าว พืชไร่-พืชผัก พืชสวน รวม มูลค่าทางเศรษฐกิจ (บาท) ข้าว พืชไร่ พืชสวน รวม
และอื่นๆ พืชผัก และอื่นๆ
เหนือ 162,482.00 70,587.50 6,083.00 239,152.50 116,844,883.00 9,154.00 20,220.00 69.00 29,443.00
ตะวันออกเฉียงเหนือ 6,532.00 13,330.00 6,030.00 25,892.00 21,158,120.00 - 14,793.00 2,829.50 17,622.50
กลาง 2,748.00 - - 2,748.00 1,237,977.00 - - - -
ตะวันออก 15.00 10.00 740.00 765.00 9,352.00 - - - -
ตะวันตก 33,730.00 46,537.00 89,230.00 169,497.00 38,653,213.00 - - - -
ใต้ - 3,093.00 27,832.00 30,925.00 7,081,423.00 - - - -
รวม 205,507.00 133,557.50 129,915.00 468,979.50 184,984,968.00 9,154.00 35,013.00 2,898.50 47,065.50
2. ผลกระทบด้านการเกษตรจากวาตภัย รายงานพื้นที่การเกษตรได้รับผลกระทบ ณ วันที่ 10 พฤษภาคม 2549 ดังนี้
ด้านพืช พื้นที่ทำการเกษตรได้รับผลกระทบ ระหว่างวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ถึง 20 เมษายน 2549 จำนวน 24 จังหวัด (เพิ่มขึ้นจาก
สัปดาห์ก่อน 1 จังหวัด คือ จังหวัดศรีสะเกษ) ได้แก่ จังหวัดตาก กำแพงเพชร เชียงใหม่ เชียงราย น่าน พะเยา พิษณุโลก เพชรบูรณ์ แพร่ ลำพูน
ขอนแก่น ชัยภูมิ นครราชสีมา มุกดาหาร ศรีสะเกษ เลย หนองคาย อุดรธานี กรุงเทพ ปทุมธานี กาญจนบุรี ราชบุรี สมุทรสาคร และสุราษฎร์ธานี
พื้นที่ประสบภัย 30,596.75 ไร่ คาดว่าจะเสียหาย 24,297.75 ไร่ แบ่งเป็น ข้าว 698 ไร่ พืชไร่-พืชผัก 12,683.50 ไร่ พืชอื่นๆ
10,916.25 ไร่ และเห็ด 50,000 ก้อน
ภาค จังหวัด อำเภอ ตำบล เกษตรกร พื้นที่ประสบภัย พื้นที่คาดว่าจะเสียหาย (ไร่)
(ราย) (ไร่) ข้าว พืชไร่-พืชผัก พืชอื่นๆ รวม
เหนือ 10 17 28 2,384 18,240.75 698.00 9,441.50 6,196.25 16,335.75
ตะวันออกเฉียงเหนือ 8 12 18 1,233 6,040.00 - 3,126.00 1,083.00 4,209.00
กลาง 2 2 1 261 4,985.00 - 2,726.00 2,726.00
ตะวันตก 3 3 9 103 781.00 - 116.00 661.00 777.00
ใต้ 1 1 1 50 550.00 - 250.00 250.00
รวม 24 35 57 4,031 30,596.75 698.00 12,683.50 10,916.25 24,297.75
ขณะนี้อยู่ระหว่างการสำรวจความเสียหายและจะดำเนินการให้ความช่วยเหลือ
3. การให้ความช่วยเหลือพื้นที่การเกษตรและเกษตรกร
ดำเนินการปฏิบัติการฝนหลวง การจัดสรรน้ำ การสนับสนุนเครื่องสูบน้ำ รถบรรทุกน้ำ การสนับสนุนเสบียงอาหารสัตว์ และการ
ส่งเสริมอาชีพ ดังนี้
ผลการดำเนินงาน
กิจกรรม ผลการดำเนินการแล้ว (สะสม) ช่วงวันที่ 5-11 พ.ค. 49
1. การปฏิบัติการฝนหลวง - ขึ้นปฏิบัติการ 2,137 เที่ยวบิน - ขึ้นปฏิบัติการ 184 เที่ยวบิน
โดยหน่วยปฏิบัติการฝนหลวงจำนวน 8 หน่วย - มีปริมาณฝนตกเล็กน้อย-ปานกลาง - มีปริมาณฝนตกเล็กน้อย-
(เชียงใหม่ พิษณุโลก ลพบุรี ขอนแก่น นครราชสีมา ถึงหนัก ใน 67 จังหวัด ปานกลางถึงหนัก ใน 57 จังหวัด
ระยอง หัวหิน สุราษฎร์ธานี) และ 6 ฐานเติม - มีน้ำไหลลงอ่างเก็บน้ำเป้าหมาย - มีน้ำไหลลงอ่างเก็บน้ำเป้าหมาย
สารฝนหลวง (ตาก นครสวรรค์ อุดรธานี 11 อ่าง รวม 335.91 ล้านลบ.ม. 11 อ่าง รวม 24.59 ล้านลบ.ม.
อุบลราชธานี จันทบุรี และภูเก็ต)
เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 ก.พ. 2549
2. ด้านชลประทาน
2.1 การจัดสรรน้ำ เพื่อการเกษตร การประปา ระบายน้ำจากอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่เพื่อ ระบายน้ำจากอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่
การเดินเรือและผลักดันน้ำเค็ม สนับสนุนการปลูกพืชฤดูแล้ง ระหว่าง จำนวน 688.80 ล้าน ลบ.ม.
วันที่ 1 พ.ย. 48 — 30 เม.ย. 49
จำนวน 17,740 ล้าน ลบ.ม.
2.2 สนับสนุนเครื่องสูบน้ำและรถยนต์บรรทุกน้ำ - เครื่องสูบน้ำ 663 เครื่อง - เครื่องสูบน้ำ 663 เครื่อง
ช่วยเหลือพื้นที่การเกษตรได้ 589,907 ไร่ - รถยนต์บรรทุกน้ำ 57 คัน
แบ่งเป็นข้าว 533,118 ไร่ พืชไร่-พืชผัก
52,789 ไร่ และช่วยเหลือการอุปโภค-
บริโภค 16.49 ล้าน ลบ.ม.
- รถยนต์บรรทุกน้ำ 57 คัน ช่วยเหลือได้
1,072 ครัวเรือน ปริมาณน้ำ 6.61 ล้านลิตร
3. ด้านปศุสัตว์ สนับสนุนเสบียงอาหารสัตว์ 52,000 กิโลกรัม -
เวชภัณฑ์ 2,442 ซอง แร่ธาตุ 926 ก้อน
4. ด้านการส่งเสริมอาชีพ เช่น - กลุ่มสตรี/กลุ่มอาชีพ/สหกรณ์ 169 1.จัดสรรงบประมาณเพื่อการ
- การปลูกพืชใช้น้ำน้อย ได้แก่ กลุ่ม/สหกรณ์ จำนวนสมาชิก 6,472 ราย อบรมถ่ายทอดเทคโนโลยี
การเพาะเห็ด ปลูกดอกแกลดิโอลิส - กลุ่มเกษตรกร 1,355 กลุ่ม จำนวน กลุ่มละ 16,000 บาท
ถั่วเหลือง ปลูกผักปลอดสารพิษ สมาชิก 24,721 ราย 2.พัฒนาการผลิตทำงบต้นทุน
การผลิตมะนาวนอกฤดูในวงบ่อ การผลิตให้แก่กลุ่มผู้ผลิต
- การเลี้ยงสัตว์ ได้แก่ เลี้ยงโคขุน 3.จัดสรรงบประมาณเพื่อเป็นทุนของ
- การส่งเสริมอาชีพเสริม ได้แก่ การทำปุ๋ยหมัก กลุ่มจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
การแปรรูปผลผลิตการเกษตร การทอผ้า การผลิต กลุ่มละ 40,000 บาท
หัตถกรรม ดอกไม้ประดิษฐ์
5. ด้านการปรับปรุงบำรุงดิน ดำเนินการรวมพื้นที่ 336,950 ไร่ ดำเนินการในพื้นที่ 14,815 ไร่
เป้าหมาย ใน 75 จังหวัด พื้นที่ 921,025 ไร่ แบ่งเป็น แบ่งเป็น
แบ่งเป็น ในเขต 154,443 ไร่ นอกเขต ในเขตชลประทาน 42,646 ไร่ ในเขตชลประทาน 272 ไร่
766,582 ไร่ นอกเขตชลประทาน 294,304 ไร่ นอกเขตชลประทาน 14,543 ไร่
4. สถานการณ์น้ำและการเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง
4.1 สถานการณ์น้ำ
- ปริมาตรน้ำในอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ทั่วประเทศ ณ วันที่ 14 พฤษภาคม 2549 มีปริมาตรน้ำในอ่างฯ ทั้งหมด 42,994
ล้าน ลบ.ม. คิดเป็นร้อยละ 63 ของความจุอ่างฯ ซึ่งมากกว่าปี 2548 จำนวน 7,755 ล้าน ลบ.ม. ในช่วงเวลาเดียวกัน
- อ่างเก็บน้ำที่มีปริมาตรน้ำในอ่างฯอยู่ในเกณฑ์น้อย จำนวน 2 อ่างฯ คือ อุบลรัตน์ และบางพระ มีการประชาสัมพันธ์ให้
งดการปลูกพืชฤดูแล้ง และให้สงวนน้ำเพื่อการอุปโภค-บริโภค ซึ่งจะมีเพียงพอตลอดช่วงฤดูแล้ง สำหรับอ่างเก็บน้ำลำนางรอง มีปริมาณน้ำในอ่างฯ
ร้อยละ 31 และอ่างเก็บน้ำทับเสลา มีปริมาณน้ำในอ่างฯร้อยละ 34 มีการใช้น้ำเพื่อการอุปโภคบริโภคอย่างเดียวและมีการใช้น้ำอยู่ในเกณฑ์น้อย
ประมาณ วันละ 0.04-0.05 ล้านลบ.ม. ซึ่งจะไม่มีผลกระทบต่อปริมาณน้ำในอ่างฯที่มีอยู่ ประกอบกับใกล้เข้าสู่ต้นฤดูฝน สภาพน้ำในอ่างฯทั้งสอง
จึงมีปริมาณน้ำเพียงพอและจะไม่เกิดปัญหาขาดแคลนน้ำแต่อย่างใด
4.2 การปลูกพืชฤดูแล้ง ณ วันที่ 30 เมษายน 2549 หน่วย : ล้านไร่
พื้นที่ ในเขตชลประทาน นอกเขตชลประทาน รวม
ชนิดพืช ข้าว พืชไร่-พืชผัก รวม ข้าว พืชไร่-พืชผัก รวม ข้าว พืชไร่-พืชผัก รวม
เป้าหมาย 5.84 0.87 6.71 1.94 1.79 3.73 7.78 2.66 10.44
ปลูกแล้ว 9.23 0.77 10.00 2.74 1.82 4.56 11.97 2.59 14.56
เก็บเกี่ยว 4.30 0.27 4.57 0.83 0.73 1.56 5.13 1.00 6.13
พื้นที่ยังไม่เก็บเกี่ยว 4.93 0.50 5.43 1.91 1.09 3.00 6.84 1.59 8.43
5. แผนการช่วยเหลือระหว่างวันที่ 12-18 พฤษภาคม 2549
กิจกรรม แผนการดำเนินการ
1. การปฏิบัติการฝนหลวง 1. เพื่อช่วยเหลือพื้นที่เพาะปลูกใน 44 จังหวัด
โดยหน่วยปฏิบัติการฝนหลวงจำนวน 8 หน่วย (เชียงใหม่ 2. เพิ่มความชุ่มชื้นให้กับป่าไม้เพื่อลดความรุนแรงของไฟป่า
พิษณุโลก ลพบุรี ขอนแก่น นครราชสีมา ระยอง หัวหิน 3. เพิ่มปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำมีน้ำไหลลงอ่างเก็บน้ำ
สุราษฎร์ธานี) และ 6 ฐานเติมสารฝนหลวง (ตาก นครสวรรค์ เป้าหมาย 11 อ่าง ได้แก่ ทับเสลา กระเสียว อุบลรัตน์
อุดรธานี อุบลราชธานี จันทบุรี และภูเก็ต) เริ่มตั้งแต่ มูลบน ลำแซะ ลำตะคอง ลำนางรอง บางพระ ดอกกราย
วันที่ 1 ก.พ. 2549 หนองปลาไหล และบางวาด
2. ด้านชลประทาน
มีแผนเตรียมเครื่องสูบน้ำเคลื่อนที่ และรถยนต์บรรทุกน้ำ - เครื่องสูบน้ำเคลื่อนที่ จำนวน 1,200 เครื่อง แยกเป็น
เพื่อช่วยเหลือการเพาะปลูกพืช การอุปโภค-บริโภคในช่วงฤดูแล้ง ภาคเหนือ 285 เครื่อง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
จำนวน 1,200 เครื่อง และ 295 คัน ตามลำดับ 340 เครื่อง ภาคกลาง 270 เครื่อง
ภาคตะวันออก 70 เครื่อง ภาคตะวันตก 60 เครื่อง
และภาคใต้ 175 เครื่อง
- รถยนต์บรรทุกน้ำ จำนวน 295 ค้น แยกเป็น ภาคเหนือ
55 คัน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 90 คัน ภาคกลาง
36 คัน ภาคตะวันออก 64 คัน ภาคตะวันตก 14 คัน
และภาคใต้ 36 คัน
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ชุดพ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร) (รักษาการนายกรัฐมนตรี) วันที่ 16 พฤษภาคม 2549--จบ--