คณะรัฐมนตรีรับทราบรายงานสรุปผลการตรวจราชการเพื่อแก้ไขปัญหาอุทกภัย และการช่วยเหลือ
ราษฎร ในเขตตรวจราชการที่ 1 (ภาคเหนือตอนบน) ได้แก่ จังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน
ลำปาง ลำพูน พะเยา น่าน และแพร่ ตามที่รองนายกรัฐมนตรี (นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ) ซึ่งกำกับติดตาม
การปฏิบัติราชการในพื้นที่เขตตรวจราชการที่ 1 ได้เดินทางไปติดตามผลความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคใน
การให้ความช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อนจากการเกิดอุทกภัย ณ จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่
18 สิงหาคม 2548 สรุปสาระสำคัญได้ดังนี้
สถานการณ์ปัจจุบัน การให้ความช่วยเหลือ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะรองนายกรัฐมนตรี
1.จังหวัดเชียงใหม่
1.1 สถานการณ์โดยรวมอยู่ในภาวะ - จังหวัดได้ให้ความช่วยเหลือ - เนื่องจากจังหวัดเชียงใหม่ รัฐบาลได้ลงทุนใน
ปกติสามารถระบายน้ำออกจาก ประชาชนผู้ที่ประสบอุทกภัย การก่อสร้างสิ่งสาธารณูปโภคเป็นจำนวนมาก
บริเวณน้ำท่วม โดยเฉพาะ ทุกรายแล้ว จึงควรมีแผนหลักในการแก้ไขปัญหาอุทกภัย
ไนท์บาร์ซาร์และตลาดวโรรส - กำลังเร่งสำรวจความเสียหาย เป็นกรณีเร่งด่วน โดยประสานความร่วมมือกับ
เป็นต้น ทั้งภาคเกษตร และภาค- หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและรวมทั้งภาคเอกชนเข้า
1.2 ขณะนี้อยู่ในระหว่างทำความ อุตสาหกรรม เพื่อให้ความ มามีส่วนร่วมด้วย
สะอาดถนน และบ้านเรือน- ช่วยเหลือในระยะต่อไป - ขอให้จังหวัดเน้นการช่วยเหลือผู้ประสบ
ราษฎรที่ถูกน้ำท่วมซึ่งคาดว่าจะ อุทกภัยทั้งภาคเกษตรและภาคธุรกิจ อย่างทั่วถึง
ดำเนินการแล้วเสร็จภายใน เมื่อได้สำรวจข้อมูลที่แน่นอนแล้ว
1-2 วัน - จังหวัดควรเน้นสำรวจแหล่งน้ำและสำรวจจุด
1.3 ถ้าไม่มีฝนตกเกิน 75 มม. ที่เป็นอุปสรรคที่เป็นจุดปิดกั้นทางเดินของน้ำ
สถานการณ์โดยภาพรวมทั้ง เพื่อนำปัญหาเหล่านั้นมาแก้ไขให้เป็นระบบ
จังหวัดก็จะเข้าสู่ภาวะปกติ - กรณีที่มีประชาชนบุกรุกแม่น้ำปิง
ขอให้จังหวัดและหน่วยงานที่รับผิดชอบ
ดำเนินการในเรื่องนี้ตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด
2. จังหวัดแม่ฮ่องสอน
2.1 สถานการณ์โดยภาพรวมเข้าสู่ - ในกรณีที่มีผู้เสียชีวิตทั้ง 15 ราย - ให้จังหวัดควรประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ภาวะปกติ ถนนทุกสายสามารถ ได้ให้ความช่วยเหลือค่าทำศพ จัดทำแผนป้องกันสาธารณภัยอย่างเป็นระบบ
ใช้การได้เป็นปกติ เรียบร้อยแล้ว สำหรับบ้านเรือน แล้วจัดทำแผนงานหรือโครงการเพื่อแก้ไขปัญหา
2.2 สำหรับที่อำเภอปาย ทุกภาคส่วน ที่ได้รับความเสียหายทั้งหลัง จำนวน ในแต่ละกรณี พร้อมกับจัดลำดับความสำคัญของ
ได้ทำความสะอาดถนนหนทางและ 40 หลังคาเรือน หรือ เสียหาย แผนงานโครงการเพื่อขอจัดสรรงบประมาณใน
บริเวณบ้านเรือนที่โคลนเข้าไป บางส่วน จำนวน 120 หลังคาเรือน แต่ละปีต่อไป
ทับถมเนื่องจากกระแสน้ำพัด ทางราชการก็ได้ให้ความ - ขอให้จังหวัดสร้างระบบการเตือนภัยให้แก่ประชาชน
คาดว่าจะดำเนินการแล้วเสร็จ ช่วยเหลือหมดแล้ว อย่างทั่วถึง โดยเป็นเครือข่ายและให้ทุกภาคส่วน
ภายใน 1-2 วัน - สำหรับเครื่องอุปโภค บริโภคใน ได้มีส่วนร่วมในการดำเนินงาน
2.3 สาธารณูปโภคต่าง ๆ เช่น พื้นที่ที่ห่างไกล ทางราชการได้ - ในกรณีที่โคลน และไม้ซุงพัดเข้าไปในบ้านเรือน-
ไฟฟ้า โทรศัพท์ใช้การได้ทั้งหมด เข้าไปให้ความช่วยเหลือ โดย ราษฎรนั้น ขอให้เร่งดำเนินการเข้าไปให้ความ-
2.4 ถ้าไม่มีฝนตกหนัก คาดว่า แจกข้าวสาร อาหารแห้งและ ช่วยเหลือเป็นกรณีเร่งด่วน โดยระดมทีมงานและ
สถานการณ์ก็จะเข้าสู่สภาวะปกติ ยารักษาโรค เป็นต้นทุกพื้นที่แล้ว เครื่องจักรเข้าไปดำเนินการ
โดยขนส่งเครื่องอุปโภคบริโภค
ดังกล่าวทางเฮลิคอปเตอร์
- ได้สร้างระบบเตือนภัยเพื่อเตือนภัย
ในกรณีที่จะเกิดปัญหาสาธารณภัย
ต่าง ๆ
3. จังหวัดเชียงราย ลำปาง ลำพูน พะเยา
แพร่ น่าน
3.1 สถานการณ์ของทั้ง 6 จังหวัดอยู่ - จังหวัดเกิดน้ำท่วมเล็กน้อย เช่น - กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบนทั้ง 8 จังหวัดควรจะ
ในสภาวะปกติ ถ้าไม่มีฝนตกหนัก จังหวัดเชียงราย พะเยา ลำพูน ต้องทำแผนป้องกันการเกิดอุทกภัยของกลุ่มจังหวัด
อย่างต่อเนื่องและขณะนี้ระดับน้ำ ก็ได้ให้เจ้าหน้าที่นำเครื่องอุปโภค ทุก ๆ ด้าน และจัดทำแผนงานโครงการพร้อมทั้ง
ตามแม่น้ำต่างๆ ยังอยู่ในระดับ บริโภคต่าง ๆ ไปแจกจ่ายแก่ จัดลำดับความสำคัญของปัญหาทั้งระยะสั้น
ปกติโดยเฉพาะแม่น้ำยม ที่ไหล ราษฎรแล้ว ระยะเร่งด่วน ระยะยาว เพื่อขอจัดสรรงบประมาณ
ผ่านจังหวัดแพร่ - จังหวัดต่างๆ ทั้ง 6 จังหวัดได้ ในแต่ละปีต่อไป
3.2 ทุกจังหวัดได้ติดตามสถานการณ์ เตรียมความพร้อมที่จะให้ความ - ในส่วนของเกษตรกร ซึ่งเป็นผู้ได้รับผลกระทบจาก
ข่าวที่เกี่ยวกับสภาพอากาศจาก ช่วยเหลือกรณีที่เกิดอุทกภัย โดย การเกิดอุทกภัยเป็นจำนวนมาก ขอให้เน้นการ
กรมอุตุนิยมวิทยาของแต่ละภาค มีแผนเพื่อสนธิกำลังจากทุกภาคส่วน สำรวจข้อมูลให้ชัดเจนแล้วให้ความช่วยเหลือทุกๆราย
เพื่อเตรียมความพร้อมในการอพยพ ทั้งภาครัฐ ภาคประชาชน และ - ขอให้พัฒนาระบบการสื่อสารเกี่ยวกับการเตือน
ราษฎรหากเกิดสภาวะอากาศ ภาคเอกชนเข้าไปให้ความช่วยเหลือ ภัยพิบัติต่าง ๆ ระหว่างภาครัฐ และภาคประชาชน
แปรปรวนและมีฝนตกหนัก ให้มีประสิทธิภาพสูงสุดและรวดเร็ว โดยเฉพาะ
ข้อมูลที่ถึงประชาชนทั้งข้อมูลที่ดี และการเตือนสาธารณภัย
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ชุดพ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร) วันที่ 23 สิงหาคม 2548--จบ--
ราษฎร ในเขตตรวจราชการที่ 1 (ภาคเหนือตอนบน) ได้แก่ จังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน
ลำปาง ลำพูน พะเยา น่าน และแพร่ ตามที่รองนายกรัฐมนตรี (นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ) ซึ่งกำกับติดตาม
การปฏิบัติราชการในพื้นที่เขตตรวจราชการที่ 1 ได้เดินทางไปติดตามผลความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรคใน
การให้ความช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อนจากการเกิดอุทกภัย ณ จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่
18 สิงหาคม 2548 สรุปสาระสำคัญได้ดังนี้
สถานการณ์ปัจจุบัน การให้ความช่วยเหลือ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะรองนายกรัฐมนตรี
1.จังหวัดเชียงใหม่
1.1 สถานการณ์โดยรวมอยู่ในภาวะ - จังหวัดได้ให้ความช่วยเหลือ - เนื่องจากจังหวัดเชียงใหม่ รัฐบาลได้ลงทุนใน
ปกติสามารถระบายน้ำออกจาก ประชาชนผู้ที่ประสบอุทกภัย การก่อสร้างสิ่งสาธารณูปโภคเป็นจำนวนมาก
บริเวณน้ำท่วม โดยเฉพาะ ทุกรายแล้ว จึงควรมีแผนหลักในการแก้ไขปัญหาอุทกภัย
ไนท์บาร์ซาร์และตลาดวโรรส - กำลังเร่งสำรวจความเสียหาย เป็นกรณีเร่งด่วน โดยประสานความร่วมมือกับ
เป็นต้น ทั้งภาคเกษตร และภาค- หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและรวมทั้งภาคเอกชนเข้า
1.2 ขณะนี้อยู่ในระหว่างทำความ อุตสาหกรรม เพื่อให้ความ มามีส่วนร่วมด้วย
สะอาดถนน และบ้านเรือน- ช่วยเหลือในระยะต่อไป - ขอให้จังหวัดเน้นการช่วยเหลือผู้ประสบ
ราษฎรที่ถูกน้ำท่วมซึ่งคาดว่าจะ อุทกภัยทั้งภาคเกษตรและภาคธุรกิจ อย่างทั่วถึง
ดำเนินการแล้วเสร็จภายใน เมื่อได้สำรวจข้อมูลที่แน่นอนแล้ว
1-2 วัน - จังหวัดควรเน้นสำรวจแหล่งน้ำและสำรวจจุด
1.3 ถ้าไม่มีฝนตกเกิน 75 มม. ที่เป็นอุปสรรคที่เป็นจุดปิดกั้นทางเดินของน้ำ
สถานการณ์โดยภาพรวมทั้ง เพื่อนำปัญหาเหล่านั้นมาแก้ไขให้เป็นระบบ
จังหวัดก็จะเข้าสู่ภาวะปกติ - กรณีที่มีประชาชนบุกรุกแม่น้ำปิง
ขอให้จังหวัดและหน่วยงานที่รับผิดชอบ
ดำเนินการในเรื่องนี้ตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด
2. จังหวัดแม่ฮ่องสอน
2.1 สถานการณ์โดยภาพรวมเข้าสู่ - ในกรณีที่มีผู้เสียชีวิตทั้ง 15 ราย - ให้จังหวัดควรประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ภาวะปกติ ถนนทุกสายสามารถ ได้ให้ความช่วยเหลือค่าทำศพ จัดทำแผนป้องกันสาธารณภัยอย่างเป็นระบบ
ใช้การได้เป็นปกติ เรียบร้อยแล้ว สำหรับบ้านเรือน แล้วจัดทำแผนงานหรือโครงการเพื่อแก้ไขปัญหา
2.2 สำหรับที่อำเภอปาย ทุกภาคส่วน ที่ได้รับความเสียหายทั้งหลัง จำนวน ในแต่ละกรณี พร้อมกับจัดลำดับความสำคัญของ
ได้ทำความสะอาดถนนหนทางและ 40 หลังคาเรือน หรือ เสียหาย แผนงานโครงการเพื่อขอจัดสรรงบประมาณใน
บริเวณบ้านเรือนที่โคลนเข้าไป บางส่วน จำนวน 120 หลังคาเรือน แต่ละปีต่อไป
ทับถมเนื่องจากกระแสน้ำพัด ทางราชการก็ได้ให้ความ - ขอให้จังหวัดสร้างระบบการเตือนภัยให้แก่ประชาชน
คาดว่าจะดำเนินการแล้วเสร็จ ช่วยเหลือหมดแล้ว อย่างทั่วถึง โดยเป็นเครือข่ายและให้ทุกภาคส่วน
ภายใน 1-2 วัน - สำหรับเครื่องอุปโภค บริโภคใน ได้มีส่วนร่วมในการดำเนินงาน
2.3 สาธารณูปโภคต่าง ๆ เช่น พื้นที่ที่ห่างไกล ทางราชการได้ - ในกรณีที่โคลน และไม้ซุงพัดเข้าไปในบ้านเรือน-
ไฟฟ้า โทรศัพท์ใช้การได้ทั้งหมด เข้าไปให้ความช่วยเหลือ โดย ราษฎรนั้น ขอให้เร่งดำเนินการเข้าไปให้ความ-
2.4 ถ้าไม่มีฝนตกหนัก คาดว่า แจกข้าวสาร อาหารแห้งและ ช่วยเหลือเป็นกรณีเร่งด่วน โดยระดมทีมงานและ
สถานการณ์ก็จะเข้าสู่สภาวะปกติ ยารักษาโรค เป็นต้นทุกพื้นที่แล้ว เครื่องจักรเข้าไปดำเนินการ
โดยขนส่งเครื่องอุปโภคบริโภค
ดังกล่าวทางเฮลิคอปเตอร์
- ได้สร้างระบบเตือนภัยเพื่อเตือนภัย
ในกรณีที่จะเกิดปัญหาสาธารณภัย
ต่าง ๆ
3. จังหวัดเชียงราย ลำปาง ลำพูน พะเยา
แพร่ น่าน
3.1 สถานการณ์ของทั้ง 6 จังหวัดอยู่ - จังหวัดเกิดน้ำท่วมเล็กน้อย เช่น - กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบนทั้ง 8 จังหวัดควรจะ
ในสภาวะปกติ ถ้าไม่มีฝนตกหนัก จังหวัดเชียงราย พะเยา ลำพูน ต้องทำแผนป้องกันการเกิดอุทกภัยของกลุ่มจังหวัด
อย่างต่อเนื่องและขณะนี้ระดับน้ำ ก็ได้ให้เจ้าหน้าที่นำเครื่องอุปโภค ทุก ๆ ด้าน และจัดทำแผนงานโครงการพร้อมทั้ง
ตามแม่น้ำต่างๆ ยังอยู่ในระดับ บริโภคต่าง ๆ ไปแจกจ่ายแก่ จัดลำดับความสำคัญของปัญหาทั้งระยะสั้น
ปกติโดยเฉพาะแม่น้ำยม ที่ไหล ราษฎรแล้ว ระยะเร่งด่วน ระยะยาว เพื่อขอจัดสรรงบประมาณ
ผ่านจังหวัดแพร่ - จังหวัดต่างๆ ทั้ง 6 จังหวัดได้ ในแต่ละปีต่อไป
3.2 ทุกจังหวัดได้ติดตามสถานการณ์ เตรียมความพร้อมที่จะให้ความ - ในส่วนของเกษตรกร ซึ่งเป็นผู้ได้รับผลกระทบจาก
ข่าวที่เกี่ยวกับสภาพอากาศจาก ช่วยเหลือกรณีที่เกิดอุทกภัย โดย การเกิดอุทกภัยเป็นจำนวนมาก ขอให้เน้นการ
กรมอุตุนิยมวิทยาของแต่ละภาค มีแผนเพื่อสนธิกำลังจากทุกภาคส่วน สำรวจข้อมูลให้ชัดเจนแล้วให้ความช่วยเหลือทุกๆราย
เพื่อเตรียมความพร้อมในการอพยพ ทั้งภาครัฐ ภาคประชาชน และ - ขอให้พัฒนาระบบการสื่อสารเกี่ยวกับการเตือน
ราษฎรหากเกิดสภาวะอากาศ ภาคเอกชนเข้าไปให้ความช่วยเหลือ ภัยพิบัติต่าง ๆ ระหว่างภาครัฐ และภาคประชาชน
แปรปรวนและมีฝนตกหนัก ให้มีประสิทธิภาพสูงสุดและรวดเร็ว โดยเฉพาะ
ข้อมูลที่ถึงประชาชนทั้งข้อมูลที่ดี และการเตือนสาธารณภัย
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ชุดพ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร) วันที่ 23 สิงหาคม 2548--จบ--