1.4 ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และลงนามในประกาศสำนักนายก รัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องกับการมีพระบรมราชโองการในเรื่องตามข้อ 1.1 — 1.3 ยกเว้น
1.4.1 เรื่องที่เกี่ยวกับกฎหมาย
1.4.2 การสถาปนาพระอิสริยยศ อิสริยศักดิ์ สมณศักดิ์
1.4.3 การแต่งตั้ง ในกรณีการแต่งตั้งประธานศาลฎีกา ประธานศาลปกครองสูงสุด ข้าราชการตำแหน่งหัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวงและกรมเอกอัครราชทูตประจำต่างประเทศ กงสุล และกรรมการที่มีตำแหน่ง หน้าที่สำคัญ
1.4.4 การพระราชทานยศทหาร ตำรวจ ชั้นนายพล
1.4.5 การพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์แก่พระบรมวงศานุวงศ์ และการพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ประจำปี
1.4.6 การสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูต หรือความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และการประกาศใช้ความตกลงระหว่างประเทศ
1.4.7 เรื่องสำคัญที่เคยมีประเพณีปฏิบัติให้เสนอนายกรัฐมนตรีลงนาม
ส่วนที่ 3
2. รองนายกรัฐมนตรี (นายไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม)
2.1 การมอบหมายและมอบอำนาจให้กำกับการบริหารราชการ และสั่งและปฏิบัติราชการแทนนายกรัฐมนตรี ดังนี้
2.1.1 กำกับการบริหารราชการของส่วนราชการ ดังนี้
(1) กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
(2) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
(3) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
(4) กระทรวงแรงงาน
(5) กระทรวงวัฒนธรรม
(6) กระทรวงศึกษาธิการ
(7) กระทรวงสาธารณสุข
(8) กรมประชาสัมพันธ์
(9) สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
(10) สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
(11) สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
(12) ราชบัณฑิตยสถาน
2.2 การมอบหมายให้กำกับดูแลองค์การมหาชน และหน่วยงานของรัฐ ดังนี้
2.2.1 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
2.2.2 องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
2.2.3 สำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ
2.2.4 กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ
2.3 การสั่งการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย และการสั่งการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครู ซึ่งเรื่องอยู่ระหว่างการดำเนินการตามกฎหมายและการดำเนินคดีปกครอง รวมทั้งลงนามมอบอำนาจให้พนักงานอัยการดำเนินคดีปกครองกรณีที่มีการฟ้องนายกรัฐมนตรีในการสั่งการตามกฎหมายดังกล่าว
2.4 การสั่งการตามกฎหมายว่าด้วยราชบัณฑิตยสถาน
2.5 การสั่งการตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
2.6 การสั่งการตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ
2.7 การสั่งการตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
2.8 การมอบหมายให้ปฏิบัติราชการแทนในเรื่องที่เป็นงานประจำปกติของสำนักงานศาลยุติธรรม สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ สำนักงานศาลปกครอง สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง สำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์แห่งชาติ และสำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ที่จำเป็นต้องเสนอนายกรัฐมนตรีสั่งการตามกฎหมายหรือที่ต้องนำความกราบบังคมทูลพระกรุณาตามกฎหมาย
2.9 ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และลงนามในประกาศสำนักนายก รัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องกับการมีพระบรมราชโองการในเรื่องตามข้อ 2.1 — 2.8 เว้นแต่กรณีที่ระบุยกเว้นในข้อ 1.4
ส่วนที่ 4
3. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (คุณหญิงทิพาวดี เมฆสวรรค์)
3.1 การมอบหมายและมอบอำนาจให้สั่งและปฏิบัติราชการแทนนายกรัฐมนตรี ดังนี้
3.1.1 สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
3.1.2 สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
3.1.3 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
3.1.4 กรมประชาสัมพันธ์
3.2 การมอบหมายให้กำกับดูแลองค์การมหาชน ดังนี้
- สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้
ส่วนที่ 5
4. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (นายธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์)
4.1 การมอบหมายและมอบอำนาจให้สั่งและปฏิบัติราชการแทนนายกรัฐมนตรี ดังนี้
(1) สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
(2) สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
(3) ราชบัณฑิตยสถาน
4.2 การมอบหมายให้กำกับดูแลรัฐวิสาหกิจ ดังนี้
- บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน)
ส่วนที่ 6
5. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (นายประสิทธิ์ โฆวิไลกูล)
5.1 การมอบหมายและมอบอำนาจให้สั่งและปฏิบัติราชการแทนนายกรัฐมนตรี ดังนี้
5.1.1 สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
5.1.2 สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
5.1.3 สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
5.2 การสั่งการตามกฎหมายว่าด้วยการขายตรงและตลาดแบบตรง
ส่วนที่ 7
1. รองนายกรัฐมนตรีที่กำกับการบริหารราชการส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน หรือหน่วยงานของรัฐ ย่อมมีอำนาจให้ความเห็นชอบและลงนามในประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี หรือประกาศเกี่ยวกับเรื่องของหน่วยงานนั้น ๆ ดังนี้
1.1 การแต่งตั้งบุคคลหรือกรรมการในหน่วยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ
1.2 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์แก่ชาวต่างประเทศ ยกเว้นเป็นเรื่องระดับผู้นำรัฐบาลหรือประมุขของรัฐต่างประเทศ
1.3 การให้ความเห็นชอบในการรับเครื่องราชอิสริยาภรณ์หรือเหรียญตราจากต่างประเทศ
1.4 การประกาศภาพเครื่องหมายราชการ
2. ราชการที่รองนายกรัฐมนตรีได้รับมอบหมายและมอบอำนาจตามคำสั่งนี้หาก รองนายกรัฐมนตรีพิจารณาเห็นว่าเป็นเรื่องสำคัญ และอาจมีผลกระทบต่อความสงบเรียบร้อยของประชาชนเป็นส่วนรวม หรือต้องสั่งการแก่หลายส่วนราชการหรือหลายรัฐวิสาหกิจ แต่บางส่วนมิได้อยู่ในอำนาจหน้าที่กำกับการบริหารราชการของรองนายกรัฐมนตรีผู้หนึ่งผู้ใดโดยตรง ให้นำเสนอนายกรัฐมนตรีเพื่อวินิจฉัยสั่งการ
3. เมื่อรองนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีได้ดำเนินการตามที่ได้รับมอบหมายและมอบอำนาจแล้ว ให้รายงานนายกรัฐมนตรีทราบทุกสามสิบวัน
5. ในการปฏิบัติหน้าที่ตามที่มอบหมายและมอบอำนาจตามคำสั่งนี้ให้รองนายก รัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรียึดหลักการปฏิบัติงานในระบบการบริหารงานแบบบูรณาการระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การประสานการปฏิบัติราชการเพื่อให้มีประสิทธิภาพและ บังเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประเทศชาติและประชาชน โดยมีกรอบแนวทางในการปฏิบัติราชการใน 4 ประเด็นหลัก ได้แก่ การทำงานด้วยความโปร่งใส มีความเป็นธรรม มีประสิทธิภาพและประหยัด รวมทั้งการส่งเสริมในเรื่องคุณธรรมนำความรู้ และการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพประชากรในทางสังคมและรักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อยในทางการเมืองการปกครอง
ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2550
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีชุดพลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (นายกรัฐมนตรี) วันที่ 13 มีนาคม 2550--จบ--
1.4.1 เรื่องที่เกี่ยวกับกฎหมาย
1.4.2 การสถาปนาพระอิสริยยศ อิสริยศักดิ์ สมณศักดิ์
1.4.3 การแต่งตั้ง ในกรณีการแต่งตั้งประธานศาลฎีกา ประธานศาลปกครองสูงสุด ข้าราชการตำแหน่งหัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวงและกรมเอกอัครราชทูตประจำต่างประเทศ กงสุล และกรรมการที่มีตำแหน่ง หน้าที่สำคัญ
1.4.4 การพระราชทานยศทหาร ตำรวจ ชั้นนายพล
1.4.5 การพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์แก่พระบรมวงศานุวงศ์ และการพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ประจำปี
1.4.6 การสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูต หรือความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และการประกาศใช้ความตกลงระหว่างประเทศ
1.4.7 เรื่องสำคัญที่เคยมีประเพณีปฏิบัติให้เสนอนายกรัฐมนตรีลงนาม
ส่วนที่ 3
2. รองนายกรัฐมนตรี (นายไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม)
2.1 การมอบหมายและมอบอำนาจให้กำกับการบริหารราชการ และสั่งและปฏิบัติราชการแทนนายกรัฐมนตรี ดังนี้
2.1.1 กำกับการบริหารราชการของส่วนราชการ ดังนี้
(1) กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
(2) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
(3) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
(4) กระทรวงแรงงาน
(5) กระทรวงวัฒนธรรม
(6) กระทรวงศึกษาธิการ
(7) กระทรวงสาธารณสุข
(8) กรมประชาสัมพันธ์
(9) สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
(10) สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
(11) สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
(12) ราชบัณฑิตยสถาน
2.2 การมอบหมายให้กำกับดูแลองค์การมหาชน และหน่วยงานของรัฐ ดังนี้
2.2.1 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
2.2.2 องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
2.2.3 สำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ
2.2.4 กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ
2.3 การสั่งการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย และการสั่งการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครู ซึ่งเรื่องอยู่ระหว่างการดำเนินการตามกฎหมายและการดำเนินคดีปกครอง รวมทั้งลงนามมอบอำนาจให้พนักงานอัยการดำเนินคดีปกครองกรณีที่มีการฟ้องนายกรัฐมนตรีในการสั่งการตามกฎหมายดังกล่าว
2.4 การสั่งการตามกฎหมายว่าด้วยราชบัณฑิตยสถาน
2.5 การสั่งการตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
2.6 การสั่งการตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ
2.7 การสั่งการตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน
2.8 การมอบหมายให้ปฏิบัติราชการแทนในเรื่องที่เป็นงานประจำปกติของสำนักงานศาลยุติธรรม สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ สำนักงานศาลปกครอง สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง สำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์แห่งชาติ และสำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ที่จำเป็นต้องเสนอนายกรัฐมนตรีสั่งการตามกฎหมายหรือที่ต้องนำความกราบบังคมทูลพระกรุณาตามกฎหมาย
2.9 ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และลงนามในประกาศสำนักนายก รัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องกับการมีพระบรมราชโองการในเรื่องตามข้อ 2.1 — 2.8 เว้นแต่กรณีที่ระบุยกเว้นในข้อ 1.4
ส่วนที่ 4
3. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (คุณหญิงทิพาวดี เมฆสวรรค์)
3.1 การมอบหมายและมอบอำนาจให้สั่งและปฏิบัติราชการแทนนายกรัฐมนตรี ดังนี้
3.1.1 สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
3.1.2 สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
3.1.3 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
3.1.4 กรมประชาสัมพันธ์
3.2 การมอบหมายให้กำกับดูแลองค์การมหาชน ดังนี้
- สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้
ส่วนที่ 5
4. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (นายธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์)
4.1 การมอบหมายและมอบอำนาจให้สั่งและปฏิบัติราชการแทนนายกรัฐมนตรี ดังนี้
(1) สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
(2) สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
(3) ราชบัณฑิตยสถาน
4.2 การมอบหมายให้กำกับดูแลรัฐวิสาหกิจ ดังนี้
- บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน)
ส่วนที่ 6
5. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (นายประสิทธิ์ โฆวิไลกูล)
5.1 การมอบหมายและมอบอำนาจให้สั่งและปฏิบัติราชการแทนนายกรัฐมนตรี ดังนี้
5.1.1 สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
5.1.2 สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
5.1.3 สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
5.2 การสั่งการตามกฎหมายว่าด้วยการขายตรงและตลาดแบบตรง
ส่วนที่ 7
1. รองนายกรัฐมนตรีที่กำกับการบริหารราชการส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน หรือหน่วยงานของรัฐ ย่อมมีอำนาจให้ความเห็นชอบและลงนามในประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี หรือประกาศเกี่ยวกับเรื่องของหน่วยงานนั้น ๆ ดังนี้
1.1 การแต่งตั้งบุคคลหรือกรรมการในหน่วยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ
1.2 การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์แก่ชาวต่างประเทศ ยกเว้นเป็นเรื่องระดับผู้นำรัฐบาลหรือประมุขของรัฐต่างประเทศ
1.3 การให้ความเห็นชอบในการรับเครื่องราชอิสริยาภรณ์หรือเหรียญตราจากต่างประเทศ
1.4 การประกาศภาพเครื่องหมายราชการ
2. ราชการที่รองนายกรัฐมนตรีได้รับมอบหมายและมอบอำนาจตามคำสั่งนี้หาก รองนายกรัฐมนตรีพิจารณาเห็นว่าเป็นเรื่องสำคัญ และอาจมีผลกระทบต่อความสงบเรียบร้อยของประชาชนเป็นส่วนรวม หรือต้องสั่งการแก่หลายส่วนราชการหรือหลายรัฐวิสาหกิจ แต่บางส่วนมิได้อยู่ในอำนาจหน้าที่กำกับการบริหารราชการของรองนายกรัฐมนตรีผู้หนึ่งผู้ใดโดยตรง ให้นำเสนอนายกรัฐมนตรีเพื่อวินิจฉัยสั่งการ
3. เมื่อรองนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีได้ดำเนินการตามที่ได้รับมอบหมายและมอบอำนาจแล้ว ให้รายงานนายกรัฐมนตรีทราบทุกสามสิบวัน
5. ในการปฏิบัติหน้าที่ตามที่มอบหมายและมอบอำนาจตามคำสั่งนี้ให้รองนายก รัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรียึดหลักการปฏิบัติงานในระบบการบริหารงานแบบบูรณาการระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การประสานการปฏิบัติราชการเพื่อให้มีประสิทธิภาพและ บังเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประเทศชาติและประชาชน โดยมีกรอบแนวทางในการปฏิบัติราชการใน 4 ประเด็นหลัก ได้แก่ การทำงานด้วยความโปร่งใส มีความเป็นธรรม มีประสิทธิภาพและประหยัด รวมทั้งการส่งเสริมในเรื่องคุณธรรมนำความรู้ และการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพประชากรในทางสังคมและรักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อยในทางการเมืองการปกครอง
ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สั่ง ณ วันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2550
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีชุดพลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (นายกรัฐมนตรี) วันที่ 13 มีนาคม 2550--จบ--