แท็ก
กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
กรมทรัพยากรธรณี
กระทรวงมหาดไทย
โรงแรมคอนราด
คณะรัฐมนตรี
สตาร์บัคส์
คณะรัฐมนตรีรับทราบตามที่กระทรวงมหาดไทย โดยสำนักเลขาธิการป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สรุป
สถานการณ์ภัยแล้งตลอดจนการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยจนถึงวันที่ 23 เมษายน 2550 และสถานการณ์มลพิษหมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน
(ระหว่างวันที่ 1 มีนาคม — 23 เมษายน 2550) ดังนี้
1. สถานการณ์ภัยแล้ง (ระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน 2549 ถึงวันที่ 23 เมษายน 2550)
1.1 พื้นที่ประสบภัย รวม 49 จังหวัด 395 อำเภอ 48 กิ่งฯ 2,411 ตำบล 17,824 หมู่บ้าน (คิดเป็นร้อยละ 29.14 ของหมู่บ้าน
61,170 หมู่บ้านใน 49 จังหวัด และคิดเป็นร้อยละ 24.20 ของหมู่บ้านทั้งหมดของประเทศ) แยกเป็น
พื้นที่ประสบภัย
ที่ ภาค จังหวัด อำเภอ กิ่ง ตำบล หมู่บ้าน รายชื่อจังหวัด ครัวเรือน คน
1 เหนือ 17 126 10 731 4,653 กำแพงเพชร สุโขทัย ลำปาง แพร่ ตาก เพชรบูรณ์ น่าน
ลำพูน พิจิตร เชียงใหม่ เชียงราย อุตรดิตถ์ พิษณุโลก
พะเยา แม่ฮ่องสอน นครสวรรค์ และอุทัยธานี 353,423 1,212,268
2 ตะวันออกเฉียงเหนือ 19 209 32 1,384 11,470 กาฬสินธุ์ ขอนแก่น หนองคาย มุกดาหาร ยโสธร ชัยภูมิ
อำนาจเจริญ หนองบัวลำภู บุรีรัมย์ สกลนคร นครพนม
อุดรธานี ศรีสะเกษ นครราชสีมา อุบลราชธานี
มหาสารคาม เลย สุรินทร์ และร้อยเอ็ด 993,960 3,730,250
3 กลาง 4 16 1 76 509 สุพรรณบุรี ราชบุรี กาญจนบุรี และลพบุรี 58,000 196,900
4 ตะวันออก 5 20 5 109 572 จันทบุรี สระแก้ว ฉะเชิงเทรา ระยอง และ
ปราจีนบุรี 69,550 248,350
5 ใต้ 4 24 0 111 620 นครศรีธรรมราช ชุมพร สุราษฎร์ธานี และสงขลา 34,881 111,724
รวมทั้งประเทศ 49 395 48 24,114 17,824 1,509,814 5,499,492
ตารางข้อมูลหมู่บ้านที่ประสบภัยแล้งเปรียบเทียบกับจำนวนพื้นที่ประสบภัยแล้งใน 4 สัปดาห์ที่ผ่านมา
ที่ ภาค จำนวน 2 เม.ย. 2550 9 เม.ย. 2550 17 เม.ย. 2550 23 เม.ย. 2550
หมู่บ้าน หมู่บ้าน + เพิ่ม หมู่บ้าน + เพิ่ม หมู่บ้าน + เพิ่ม หมู่บ้าน + เพิ่ม
ทั้งหมด - ลด - ลด - ลด - ลด
1 ตะวันออกเฉียงเหนือ 32,576 15,004 - 1,190 14,718 - 286 12,737 - 1,981 11,470 - 1,267
2 เหนือ 16,306 5,963 + 775 6,093 + 130 5,166 - 927 4,653 - 513
3 ตะวันออก 4,816 1,383 + 150 1,152 - 231 615 - 537 572 - 43
4 ใต้ 8,588 1,532 - 89 1,417 - 115 800 - 617 620 - 180
5 กลาง 11,377 1,246 + 61 1,103 - 143 569 - 534 509 - 60
รวม 73,663 25,128 - 293 24,483 - 645 19,887 - 4,596 17,824 - 2,063
เปรียบเทียบกับสถานการณ์ภัยแล้งเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา เมื่อวันที่ 17 เม.ย. 2550 (รวม 53 จังหวัด 425 อำเภอ 50 กิ่งฯ
2,624 ตำบล 19,887 หมู่บ้าน) ปรากฏว่ามีจำนวนจังหวัดลดลง 4 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดชัยนาท ตรัง ระนอง และสตูล และมีหมู่บ้านที่
ประสบภัยแล้งมีจำนวนลดลง รวม 2,063 หมู่บ้าน
ในห้วงสัปดาห์ที่ผ่านมามีมวลอากาศเย็นจากประเทศจีนพัดเข้ามาปะทะกับมวลอากาศร้อนที่ปกคลุมพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ
ภาคกลางและภาคตะวันออก ประกอบกับมีแนวลมพัดสอบของลมฝ่ายใต้ ทำให้เกิดพายุฤดูร้อน มีฝนฟ้าคะนอง ประกอบกับการทำฝนหลวงของสำนัก
ฝนหลวงและการบินเกษตรประสบผลสำเร็จ ทำให้มีฝนตกกระจายเป็นบริเวณกว้างทั่วประเทศ ทำให้สถานการณ์ภัยแล้งในเกือบทุกพื้นที่ลดความรุนแรง
ลงไป
ตารางเปรียบเทียบข้อมูลหมู่บ้านที่ประสบภัยแล้งปี 2550 กับปี 2549 ในห้วงเวลาเดียวกัน
ที่ ภาค ข้อมูลปี 2549 ข้อมูลปี 2550 เปรียบเทียบข้อมูลภัยแล้ง
(ณ วันที่ 23 เมษายน 2549) (ณ วันที่ 23 เม.ย. 2550) ปี 2550 กับปี 2549
หมู่บ้านที่ คิดเป็นร้อยละ หมู่บ้านที่ คิดเป็นร้อยละ จำนวนหมู่บ้าน คิดเป็น
ประสบ (ของหมู่บ้าน ประสบ (ของหมู่บ้าน + เพิ่ม - ลด ร้อยละ
ภัยแล้ง ทั้งประเทศ) ภัยแล้ง ทั้งประเทศ)
1 ตะวันออกเฉียงเหนือ 15,042 46.18 11,470 35.21 - 3,572 - 23.75
2 เหนือ 5,423 33.26 4,653 28.54 - 770 - 14.20
3 ตะวันออก 1,066 22.13 572 11.88 - 494 - 46.34
4 ใต้ 263 3.06 620 7.22 + 357 + 135.74
5 กลาง 734 6.45 509 4.47 - 225 - 30.65
รวม 22,528 30.58 17,824 24.20 - 4,704 - 20.88
เปรียบเทียบหมู่บ้านที่ประสบภัยแล้งเมื่อปี 2549 ในช่วงเวลาเดียวกัน (วันที่ 23 เม.ย. 2549) รวม 61 จังหวัด 462 อำเภอ
46 กิ่งฯ 3,039 ตำบล 22,528 หมู่บ้าน (ร้อยละ 30.58 ของหมู่บ้านทั้งหมด) โดยปี 2550 (รวม 49 จังหวัด 395 อำเภอ 48 กิ่งฯ
2,411 ตำบล 17,824 หมู่บ้าน) มีหมู่บ้านที่ประสบภัยแล้งน้อยกว่า 4,704 หมู่บ้าน หรือคิดเป็นร้อยละ 20.88
1.2 ราษฎรเดือดร้อน จำนวน 1,509,814 ครัวเรือน 5,499,492 คน (คิดเป็นร้อยละ 12.75 ของครัวเรือนทั้งหมด
11,843,177 ครัวเรือน ใน 49 จังหวัดที่ประสบภัยแล้ง)
1.3 พื้นที่การเกษตรได้รับผลกระทบ จำนวน 127,913 ไร่ (จำนวน 16 จังหวัด)
1.4 การให้ความช่วยเหลือ
1.4.1 การจัดหาน้ำเพื่อการเกษตร
(1) การสนับสนุนเครื่องสูบน้ำ รวม 1,725 เครื่อง แยกเป็น จังหวัด/อำเภอและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ได้สนับสนุนเครื่องสูบน้ำ 888 เครื่อง กรมชลประทาน ได้สนับสนุนเครื่องสูบน้ำ รวม 837 เครื่อง แยกเป็น เพื่อการเพาะปลูก 762 เครื่อง
เพื่อการอุปโภคบริโภค 75 เครื่อง
(2) จังหวัด อำเภอ/กิ่งอำเภอและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการดังนี้ จัดทำทำนบ/ฝายเก็บกักน้ำ
(ชั่วคราว) 13,562 แห่ง - ขุดลอกแหล่งน้ำ 3,581 แห่ง
1.4.2 การปรับปรุง ซ่อมและทำความสะอาดภาชนะเก็บน้ำ ดังนี้
- ถังเก็บน้ำ คสล. 1,041 แห่ง - ถังปูนฉาบ 509 แห่ง - ถังไฟเบอร์ 912 แห่ง
- โอ่งซีเมนต์ 9,920 แห่ง - เป่าล้างบ่อบาดาล 1,747 แห่ง
- หอถังระบบประปาหมู่บ้าน 986 แห่ง - หอถังระบบประปาภูเขา 999 แห่ง
การสร้างภาชนะเก็บน้ำ ดังนี้
- ถังเก็บน้ำ คสล. 147 แห่ง - ถังปูนฉาบ 171 แห่ง - ถังเหล็ก 165 แห่ง
- ถังไฟเบอร์ 159 แห่ง - โอ่งซีเมนต์ 1,149 แห่ง - หอถังระบบประปาหมู่บ้าน 177แห่ง
- หอถังระบบประปาภูเขา 10 แห่ง - บ่อน้ำตื้น 127 แห่ง
1.4.3 การแจกจ่ายน้ำอุปโภค/บริโภคของจังหวัดที่ประสบภัย
ใช้รถบรรทุกน้ำ 1,917 คัน แจกจ่ายน้ำ 77,235 เที่ยว จำนวน 650,562,567 ลิตร
1.4.4 งบประมาณดำเนินการใช้จ่ายไปแล้ว จำนวน 551,233,393 บาท แยกเป็น
(1) งบทดรองราชการของจังหวัด (งบ 50 ล้านบาท) 496,550,047 บาท
(2) งบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 39,418,553 บาท
(3) งบอื่นๆ 15,264,793 บาท
2. สรุปสถานการณ์มลพิษหมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน
2.1 ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน ระหว่างวันที่ 12-23 เมษายน 2550 ในพื้นที่ 4 จังหวัดภาคเหนือตอนบน
(ข้อมูลกรมควบคุมมลพิษ)
สถานี PM10* (เดือนเมษายน 2550)
12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23
จ.เชียงใหม่ ศูนย์ราชการฯ อ.แม่ริม 57 52 42 53 50 46 39 38 38 38 38 40
ร.ร. ยุพราชวิทยาลัย อ.เมือง 64 60 58 66 61 60 - - 46 50 50 49
จ.ลำปาง ม.ธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง อ.เมือง 41 43 30 40 32 25 26 35 - 46 35 29
สนง.การประปาฯ อ.แม่เมาะ 33 38 30 34 32 - 44 37 - 30 30 23
จ.เชียงราย ร.ร.สามัคคีวิทยาคม อ.เมือง 65 51 46 38 44 44 - 81 - 30 - -
จ.แม่ฮ่องสอน ทสจ.แม่ฮ่องสอน อ.เมือง 169 99 78 90 81 55 52 78 - 76 71 71
หมายเหตุ 1. ค่ามาตรฐาน PM10 เฉลี่ย 24 ชั่วโมง เท่ากับ 120 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
2. ค่า PM10 สูงสุดเมื่อวันที่ 14 มี.ค.2550 วัดได้ 383 ไมโครกรัม/ลบ.ม. ที่โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย อ.เมืองฯ
จ.เชียงใหม่
สรุป ปริมาณฝุ่นละอองเฉลี่ย 24 ชั่วโมง (PM10)ในจังหวัดเชียงใหม่ ลำปาง เชียงราย และจังหวัดแม่ฮ่องสอน เข้าสู่ภาวะปกติ
(กรมควบคุมมลพิษ แจ้งว่า ปริมาณฝุ่นละอองอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานทุกสถานีแล้ว จึงไม่รายงานข้อมูลตั้งแต่ 20 เม.ย.50)
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีชุดพลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (นายกรัฐมนตรี) วันที่ 24 เมษายน 2550--จบ--
สถานการณ์ภัยแล้งตลอดจนการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยจนถึงวันที่ 23 เมษายน 2550 และสถานการณ์มลพิษหมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน
(ระหว่างวันที่ 1 มีนาคม — 23 เมษายน 2550) ดังนี้
1. สถานการณ์ภัยแล้ง (ระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน 2549 ถึงวันที่ 23 เมษายน 2550)
1.1 พื้นที่ประสบภัย รวม 49 จังหวัด 395 อำเภอ 48 กิ่งฯ 2,411 ตำบล 17,824 หมู่บ้าน (คิดเป็นร้อยละ 29.14 ของหมู่บ้าน
61,170 หมู่บ้านใน 49 จังหวัด และคิดเป็นร้อยละ 24.20 ของหมู่บ้านทั้งหมดของประเทศ) แยกเป็น
พื้นที่ประสบภัย
ที่ ภาค จังหวัด อำเภอ กิ่ง ตำบล หมู่บ้าน รายชื่อจังหวัด ครัวเรือน คน
1 เหนือ 17 126 10 731 4,653 กำแพงเพชร สุโขทัย ลำปาง แพร่ ตาก เพชรบูรณ์ น่าน
ลำพูน พิจิตร เชียงใหม่ เชียงราย อุตรดิตถ์ พิษณุโลก
พะเยา แม่ฮ่องสอน นครสวรรค์ และอุทัยธานี 353,423 1,212,268
2 ตะวันออกเฉียงเหนือ 19 209 32 1,384 11,470 กาฬสินธุ์ ขอนแก่น หนองคาย มุกดาหาร ยโสธร ชัยภูมิ
อำนาจเจริญ หนองบัวลำภู บุรีรัมย์ สกลนคร นครพนม
อุดรธานี ศรีสะเกษ นครราชสีมา อุบลราชธานี
มหาสารคาม เลย สุรินทร์ และร้อยเอ็ด 993,960 3,730,250
3 กลาง 4 16 1 76 509 สุพรรณบุรี ราชบุรี กาญจนบุรี และลพบุรี 58,000 196,900
4 ตะวันออก 5 20 5 109 572 จันทบุรี สระแก้ว ฉะเชิงเทรา ระยอง และ
ปราจีนบุรี 69,550 248,350
5 ใต้ 4 24 0 111 620 นครศรีธรรมราช ชุมพร สุราษฎร์ธานี และสงขลา 34,881 111,724
รวมทั้งประเทศ 49 395 48 24,114 17,824 1,509,814 5,499,492
ตารางข้อมูลหมู่บ้านที่ประสบภัยแล้งเปรียบเทียบกับจำนวนพื้นที่ประสบภัยแล้งใน 4 สัปดาห์ที่ผ่านมา
ที่ ภาค จำนวน 2 เม.ย. 2550 9 เม.ย. 2550 17 เม.ย. 2550 23 เม.ย. 2550
หมู่บ้าน หมู่บ้าน + เพิ่ม หมู่บ้าน + เพิ่ม หมู่บ้าน + เพิ่ม หมู่บ้าน + เพิ่ม
ทั้งหมด - ลด - ลด - ลด - ลด
1 ตะวันออกเฉียงเหนือ 32,576 15,004 - 1,190 14,718 - 286 12,737 - 1,981 11,470 - 1,267
2 เหนือ 16,306 5,963 + 775 6,093 + 130 5,166 - 927 4,653 - 513
3 ตะวันออก 4,816 1,383 + 150 1,152 - 231 615 - 537 572 - 43
4 ใต้ 8,588 1,532 - 89 1,417 - 115 800 - 617 620 - 180
5 กลาง 11,377 1,246 + 61 1,103 - 143 569 - 534 509 - 60
รวม 73,663 25,128 - 293 24,483 - 645 19,887 - 4,596 17,824 - 2,063
เปรียบเทียบกับสถานการณ์ภัยแล้งเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา เมื่อวันที่ 17 เม.ย. 2550 (รวม 53 จังหวัด 425 อำเภอ 50 กิ่งฯ
2,624 ตำบล 19,887 หมู่บ้าน) ปรากฏว่ามีจำนวนจังหวัดลดลง 4 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดชัยนาท ตรัง ระนอง และสตูล และมีหมู่บ้านที่
ประสบภัยแล้งมีจำนวนลดลง รวม 2,063 หมู่บ้าน
ในห้วงสัปดาห์ที่ผ่านมามีมวลอากาศเย็นจากประเทศจีนพัดเข้ามาปะทะกับมวลอากาศร้อนที่ปกคลุมพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ
ภาคกลางและภาคตะวันออก ประกอบกับมีแนวลมพัดสอบของลมฝ่ายใต้ ทำให้เกิดพายุฤดูร้อน มีฝนฟ้าคะนอง ประกอบกับการทำฝนหลวงของสำนัก
ฝนหลวงและการบินเกษตรประสบผลสำเร็จ ทำให้มีฝนตกกระจายเป็นบริเวณกว้างทั่วประเทศ ทำให้สถานการณ์ภัยแล้งในเกือบทุกพื้นที่ลดความรุนแรง
ลงไป
ตารางเปรียบเทียบข้อมูลหมู่บ้านที่ประสบภัยแล้งปี 2550 กับปี 2549 ในห้วงเวลาเดียวกัน
ที่ ภาค ข้อมูลปี 2549 ข้อมูลปี 2550 เปรียบเทียบข้อมูลภัยแล้ง
(ณ วันที่ 23 เมษายน 2549) (ณ วันที่ 23 เม.ย. 2550) ปี 2550 กับปี 2549
หมู่บ้านที่ คิดเป็นร้อยละ หมู่บ้านที่ คิดเป็นร้อยละ จำนวนหมู่บ้าน คิดเป็น
ประสบ (ของหมู่บ้าน ประสบ (ของหมู่บ้าน + เพิ่ม - ลด ร้อยละ
ภัยแล้ง ทั้งประเทศ) ภัยแล้ง ทั้งประเทศ)
1 ตะวันออกเฉียงเหนือ 15,042 46.18 11,470 35.21 - 3,572 - 23.75
2 เหนือ 5,423 33.26 4,653 28.54 - 770 - 14.20
3 ตะวันออก 1,066 22.13 572 11.88 - 494 - 46.34
4 ใต้ 263 3.06 620 7.22 + 357 + 135.74
5 กลาง 734 6.45 509 4.47 - 225 - 30.65
รวม 22,528 30.58 17,824 24.20 - 4,704 - 20.88
เปรียบเทียบหมู่บ้านที่ประสบภัยแล้งเมื่อปี 2549 ในช่วงเวลาเดียวกัน (วันที่ 23 เม.ย. 2549) รวม 61 จังหวัด 462 อำเภอ
46 กิ่งฯ 3,039 ตำบล 22,528 หมู่บ้าน (ร้อยละ 30.58 ของหมู่บ้านทั้งหมด) โดยปี 2550 (รวม 49 จังหวัด 395 อำเภอ 48 กิ่งฯ
2,411 ตำบล 17,824 หมู่บ้าน) มีหมู่บ้านที่ประสบภัยแล้งน้อยกว่า 4,704 หมู่บ้าน หรือคิดเป็นร้อยละ 20.88
1.2 ราษฎรเดือดร้อน จำนวน 1,509,814 ครัวเรือน 5,499,492 คน (คิดเป็นร้อยละ 12.75 ของครัวเรือนทั้งหมด
11,843,177 ครัวเรือน ใน 49 จังหวัดที่ประสบภัยแล้ง)
1.3 พื้นที่การเกษตรได้รับผลกระทบ จำนวน 127,913 ไร่ (จำนวน 16 จังหวัด)
1.4 การให้ความช่วยเหลือ
1.4.1 การจัดหาน้ำเพื่อการเกษตร
(1) การสนับสนุนเครื่องสูบน้ำ รวม 1,725 เครื่อง แยกเป็น จังหวัด/อำเภอและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ได้สนับสนุนเครื่องสูบน้ำ 888 เครื่อง กรมชลประทาน ได้สนับสนุนเครื่องสูบน้ำ รวม 837 เครื่อง แยกเป็น เพื่อการเพาะปลูก 762 เครื่อง
เพื่อการอุปโภคบริโภค 75 เครื่อง
(2) จังหวัด อำเภอ/กิ่งอำเภอและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการดังนี้ จัดทำทำนบ/ฝายเก็บกักน้ำ
(ชั่วคราว) 13,562 แห่ง - ขุดลอกแหล่งน้ำ 3,581 แห่ง
1.4.2 การปรับปรุง ซ่อมและทำความสะอาดภาชนะเก็บน้ำ ดังนี้
- ถังเก็บน้ำ คสล. 1,041 แห่ง - ถังปูนฉาบ 509 แห่ง - ถังไฟเบอร์ 912 แห่ง
- โอ่งซีเมนต์ 9,920 แห่ง - เป่าล้างบ่อบาดาล 1,747 แห่ง
- หอถังระบบประปาหมู่บ้าน 986 แห่ง - หอถังระบบประปาภูเขา 999 แห่ง
การสร้างภาชนะเก็บน้ำ ดังนี้
- ถังเก็บน้ำ คสล. 147 แห่ง - ถังปูนฉาบ 171 แห่ง - ถังเหล็ก 165 แห่ง
- ถังไฟเบอร์ 159 แห่ง - โอ่งซีเมนต์ 1,149 แห่ง - หอถังระบบประปาหมู่บ้าน 177แห่ง
- หอถังระบบประปาภูเขา 10 แห่ง - บ่อน้ำตื้น 127 แห่ง
1.4.3 การแจกจ่ายน้ำอุปโภค/บริโภคของจังหวัดที่ประสบภัย
ใช้รถบรรทุกน้ำ 1,917 คัน แจกจ่ายน้ำ 77,235 เที่ยว จำนวน 650,562,567 ลิตร
1.4.4 งบประมาณดำเนินการใช้จ่ายไปแล้ว จำนวน 551,233,393 บาท แยกเป็น
(1) งบทดรองราชการของจังหวัด (งบ 50 ล้านบาท) 496,550,047 บาท
(2) งบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 39,418,553 บาท
(3) งบอื่นๆ 15,264,793 บาท
2. สรุปสถานการณ์มลพิษหมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน
2.1 ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอน ระหว่างวันที่ 12-23 เมษายน 2550 ในพื้นที่ 4 จังหวัดภาคเหนือตอนบน
(ข้อมูลกรมควบคุมมลพิษ)
สถานี PM10* (เดือนเมษายน 2550)
12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23
จ.เชียงใหม่ ศูนย์ราชการฯ อ.แม่ริม 57 52 42 53 50 46 39 38 38 38 38 40
ร.ร. ยุพราชวิทยาลัย อ.เมือง 64 60 58 66 61 60 - - 46 50 50 49
จ.ลำปาง ม.ธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง อ.เมือง 41 43 30 40 32 25 26 35 - 46 35 29
สนง.การประปาฯ อ.แม่เมาะ 33 38 30 34 32 - 44 37 - 30 30 23
จ.เชียงราย ร.ร.สามัคคีวิทยาคม อ.เมือง 65 51 46 38 44 44 - 81 - 30 - -
จ.แม่ฮ่องสอน ทสจ.แม่ฮ่องสอน อ.เมือง 169 99 78 90 81 55 52 78 - 76 71 71
หมายเหตุ 1. ค่ามาตรฐาน PM10 เฉลี่ย 24 ชั่วโมง เท่ากับ 120 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
2. ค่า PM10 สูงสุดเมื่อวันที่ 14 มี.ค.2550 วัดได้ 383 ไมโครกรัม/ลบ.ม. ที่โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย อ.เมืองฯ
จ.เชียงใหม่
สรุป ปริมาณฝุ่นละอองเฉลี่ย 24 ชั่วโมง (PM10)ในจังหวัดเชียงใหม่ ลำปาง เชียงราย และจังหวัดแม่ฮ่องสอน เข้าสู่ภาวะปกติ
(กรมควบคุมมลพิษ แจ้งว่า ปริมาณฝุ่นละอองอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานทุกสถานีแล้ว จึงไม่รายงานข้อมูลตั้งแต่ 20 เม.ย.50)
--ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีชุดพลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ (นายกรัฐมนตรี) วันที่ 24 เมษายน 2550--จบ--