สิทธิ หน้าที่และการมีส่วนร่วมในทางการเมืองของพลเมืองไทยภายใต้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ซึ่ง ประกอบด้วย 6 หลักการ
หลักการที่ 1 เพิ่มสิทธิเสรีภาพและหน้าที่ที่ไม่ครบถ้วนหรือไม่ชัดเจน
- ชุมชนท้องถิ่นมีส่วนร่วมจัดทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
- ผู้ต้องหาในคดีอาญามีสิทธิ์ขอให้ทนายความเข้าฟังการสอบคำให้การของตน
- ผู้เสียหายหรือหรือผู้ต้องหามีสิทธิ์ขอถ่ายสำเนาสำนวนการสอบสวน
- สิทธิเด็กที่จะได้รับความคุ้มครองจากการปฎิบัติอันไม่ชอบธรรม
- สิทธิคนพิการที่จะได้รับสิ่งอำนวยความสะดวกอันเป็นสาธารณจากรัฐ และการใช้สิทธิใน การเลือกตั้ง
- บุคคลที่สิทธิของตนหรืออาจถูกกระทบกระเทือนมีสิทธิ์ที่จะมีส่วนร่วมในกระบวนการพิจารณา เรื่องทางปกครองในชั้นเจ้าหน้าที่ของรัฐได้
- สิทธิที่จะต่อต้านการล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น พระประมุข
- เจ้าหน้าที่รัฐต้องปฏิบัติหน้าที่เพื่อประโยชน์ส่วนรวมและการบริการประชาชน
- เจ้าหน้าที่รัฐต้องปฏิบัติหน้าที่อย่างเป็นกลางทางการเมือง
หลักการที่ 2 ขยายความสิทธิเสรีภาพให้ชัดเจนขึ้น
- การปิดโรงพิมพ์หรือสถานีวิทยุกระจายเสียงหรือสถานีวิทยุโทรทัศน์จะกระทำมิได้
- การห้ามเสนอข่าวจะกระทำมิได้ เว้นแต่จะมีคำสั่งหรือคำพิพากษาของศาลเท่านั้น
- พนักงานหรือลูกจ้างในกิจการหนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ของเอกชนไม่ต้องอยู่ใต้อาณัติเจ้า ของกิจการ
- การจัดสรรคลื่นวิทยุและโทรทัศน์ และการกำกับวิทยุและโทรทัศน์ต้องกระทำโดยองค์กร ของรัฐที่เป็นอิสระ
- เสรีภาพทางวิชาการการศึกษา การวิจัย การเผยแพร่ ผลงานวิจัย และการเรียน การสอน ตามหลักวิชาการย่อมได้รับการคุ้มครอง
- ห้ามการเลือกปฏิบัติเพราะเหตุความแตกต่างทางเพศแหล่งกำเนิดหรือถิ่นกำเนิด เชื้อชาติ ภาษา ความเชื่อทางศาสนา
หลักการที่ 3 คุ้มครองให้สิทธิเสรีภาพมีผลบังคับได้จริง
- สิทธิเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญรับรองต้องมีผลผูกพัน โดยตรงต่อรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล และ องค์กรตลอดจนบุคลากรอื่นของรัฐ
- บุคคลที่ถูกละเมิดสิทธิเสรีภาพสามารถดำเนินคดีในศาลที่มีเขตอำนาจและศาลรัฐธรรมนูญได้
- ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจสั่งให้บุคคลหรือพรรคการเมืองที่ใช้สิทธิเสรีภาพเป็นปฏิปักษ์ต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ หรือระบอบการปกครองตาม รัฐธรรมนูญให้ยุติการกระทำดังกล่าวได้
หลักการที่ 4 การจำกัดสิทธิเสรีภาพโดยกฎหมายหรือการใช้อำนาจรัฐภายใต้รัฐธรรมนูญ
- เฉพาะเหตุที่รัฐธรรมนูญอนุญาตไว้และเท่าที่จำเป็น โดยกระทบต่อสาระสำคัญของเสรี ภาพมิได้และกฎหมายนั้นต้องใช้เป็นการทั่วไปและต้องระบุบทมาตรา ในรัฐธรรมนูญที่ให้อำนาจจำกัดสิทธิ เสรีภาพไว้ด้วย
หลักการที่ 5 เปิดโอกาสให้พลเมืองมีส่วนร่วมในระบอบการเมืองมากขึ้น
- รับรองสิทธิชุมชนท้องถิ่น
- รับรองสิทธิในการเข้าถึงข้อมูลของทางราชการ
- รับรองสิทธิที่จะขอให้มีการจัดประชาพิจารณ์เพื่อประกอบการตัดสินใจของรัฐ ที่อาจมีผลกระ ทบต่อความเป็นอยู่ของชุมชน
- รัฐบาลอาจขอให้ประชาชนลงประชามติในเรื่องที่กระทบต่อประโยชน์ของประเทศชาติหรือ ประชาชนได้
หลักการที่ 6 เพิ่มบทบัญญัติให้การกระจายอำนาจที่ยังไม่เป็นรูปธรรมที่ชัดเจนในทางปฏิบัติ
- สภาท้องถิ่นต้องมาจากการเลือกตั้ง
- เพิ่มศักยภาพทางการคลัง การบริหารงานบุคคล และการบริหารกิจการท้องถิ่นให้ท้องถิ่นตัด สินใจได้เอง
- กำหนดระบบการตรวจสอบการใช้อำนาจขององค์กรปกครองท้องถิ่นโดยศาลปกครอง
- กระจายอำนาจทางการศึกษา
- กระจายอำนาจในการร่วมจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น
--คณะกรรมาธิการประชาสัมพันธ์ สภาร่างรัฐธรรมนูญ--
หลักการที่ 1 เพิ่มสิทธิเสรีภาพและหน้าที่ที่ไม่ครบถ้วนหรือไม่ชัดเจน
- ชุมชนท้องถิ่นมีส่วนร่วมจัดทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
- ผู้ต้องหาในคดีอาญามีสิทธิ์ขอให้ทนายความเข้าฟังการสอบคำให้การของตน
- ผู้เสียหายหรือหรือผู้ต้องหามีสิทธิ์ขอถ่ายสำเนาสำนวนการสอบสวน
- สิทธิเด็กที่จะได้รับความคุ้มครองจากการปฎิบัติอันไม่ชอบธรรม
- สิทธิคนพิการที่จะได้รับสิ่งอำนวยความสะดวกอันเป็นสาธารณจากรัฐ และการใช้สิทธิใน การเลือกตั้ง
- บุคคลที่สิทธิของตนหรืออาจถูกกระทบกระเทือนมีสิทธิ์ที่จะมีส่วนร่วมในกระบวนการพิจารณา เรื่องทางปกครองในชั้นเจ้าหน้าที่ของรัฐได้
- สิทธิที่จะต่อต้านการล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น พระประมุข
- เจ้าหน้าที่รัฐต้องปฏิบัติหน้าที่เพื่อประโยชน์ส่วนรวมและการบริการประชาชน
- เจ้าหน้าที่รัฐต้องปฏิบัติหน้าที่อย่างเป็นกลางทางการเมือง
หลักการที่ 2 ขยายความสิทธิเสรีภาพให้ชัดเจนขึ้น
- การปิดโรงพิมพ์หรือสถานีวิทยุกระจายเสียงหรือสถานีวิทยุโทรทัศน์จะกระทำมิได้
- การห้ามเสนอข่าวจะกระทำมิได้ เว้นแต่จะมีคำสั่งหรือคำพิพากษาของศาลเท่านั้น
- พนักงานหรือลูกจ้างในกิจการหนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ของเอกชนไม่ต้องอยู่ใต้อาณัติเจ้า ของกิจการ
- การจัดสรรคลื่นวิทยุและโทรทัศน์ และการกำกับวิทยุและโทรทัศน์ต้องกระทำโดยองค์กร ของรัฐที่เป็นอิสระ
- เสรีภาพทางวิชาการการศึกษา การวิจัย การเผยแพร่ ผลงานวิจัย และการเรียน การสอน ตามหลักวิชาการย่อมได้รับการคุ้มครอง
- ห้ามการเลือกปฏิบัติเพราะเหตุความแตกต่างทางเพศแหล่งกำเนิดหรือถิ่นกำเนิด เชื้อชาติ ภาษา ความเชื่อทางศาสนา
หลักการที่ 3 คุ้มครองให้สิทธิเสรีภาพมีผลบังคับได้จริง
- สิทธิเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญรับรองต้องมีผลผูกพัน โดยตรงต่อรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล และ องค์กรตลอดจนบุคลากรอื่นของรัฐ
- บุคคลที่ถูกละเมิดสิทธิเสรีภาพสามารถดำเนินคดีในศาลที่มีเขตอำนาจและศาลรัฐธรรมนูญได้
- ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจสั่งให้บุคคลหรือพรรคการเมืองที่ใช้สิทธิเสรีภาพเป็นปฏิปักษ์ต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ หรือระบอบการปกครองตาม รัฐธรรมนูญให้ยุติการกระทำดังกล่าวได้
หลักการที่ 4 การจำกัดสิทธิเสรีภาพโดยกฎหมายหรือการใช้อำนาจรัฐภายใต้รัฐธรรมนูญ
- เฉพาะเหตุที่รัฐธรรมนูญอนุญาตไว้และเท่าที่จำเป็น โดยกระทบต่อสาระสำคัญของเสรี ภาพมิได้และกฎหมายนั้นต้องใช้เป็นการทั่วไปและต้องระบุบทมาตรา ในรัฐธรรมนูญที่ให้อำนาจจำกัดสิทธิ เสรีภาพไว้ด้วย
หลักการที่ 5 เปิดโอกาสให้พลเมืองมีส่วนร่วมในระบอบการเมืองมากขึ้น
- รับรองสิทธิชุมชนท้องถิ่น
- รับรองสิทธิในการเข้าถึงข้อมูลของทางราชการ
- รับรองสิทธิที่จะขอให้มีการจัดประชาพิจารณ์เพื่อประกอบการตัดสินใจของรัฐ ที่อาจมีผลกระ ทบต่อความเป็นอยู่ของชุมชน
- รัฐบาลอาจขอให้ประชาชนลงประชามติในเรื่องที่กระทบต่อประโยชน์ของประเทศชาติหรือ ประชาชนได้
หลักการที่ 6 เพิ่มบทบัญญัติให้การกระจายอำนาจที่ยังไม่เป็นรูปธรรมที่ชัดเจนในทางปฏิบัติ
- สภาท้องถิ่นต้องมาจากการเลือกตั้ง
- เพิ่มศักยภาพทางการคลัง การบริหารงานบุคคล และการบริหารกิจการท้องถิ่นให้ท้องถิ่นตัด สินใจได้เอง
- กำหนดระบบการตรวจสอบการใช้อำนาจขององค์กรปกครองท้องถิ่นโดยศาลปกครอง
- กระจายอำนาจทางการศึกษา
- กระจายอำนาจในการร่วมจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น
--คณะกรรมาธิการประชาสัมพันธ์ สภาร่างรัฐธรรมนูญ--