รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฯ ฉบับปัจจุบัน ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฯ (วาระที่หนึ่ง) ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฯ (วาระที่สอง) บันทึกประเด็น ความเห็นและข้อสังเก
หมวด ๖ หมวด ๖ หมวด ๖
รัฐสภา รัฐสภา รัฐสภา
-------- -------- --------
(ความในส่วนที่ ๘ ว่าด้วยคณะกรรมาธิการ ส่วนที่ ๘ ส่วนที่ ๘
สิทธิมนุษยชนแห่งชาติของรัฐธรรมนูญฯ ฉบับใหม่ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
บัญญัติขึ้นใหม่ทั้งส่วน) -------------------------------- --------------------------------
มาตรา ๑๙๙ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน มาตรา ๑๙๙ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
แห่งชาติ ประกอบด้วยประธานกรรมการคนหนึ่ง และ แห่งชาติ ประกอบด้วยประธานกรรมการคนหนึ่ง และ
กรรมการอื่นสิบคน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตาม กรรมการอื่นอีกสิบคน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง
คำแนะนำของรัฐสภาจากผู้ซึ่งมีความรู้หรือ ตามคำแนะนำของวุฒิสภาจากผู้ซึ่งมีความรู้หรือ
ประสบการณ์ด้านการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของ ประสบการณ์ด้านการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของ
ประชาชนเป็นที่ประจักษ์ โดยให้มีผู้แทนจากองค์การ ประชาชนเป็นที่ประจักษ์ ทั้งนี้ โดยต้องคำนึงถึงการมี
เอกชนด้านสิทธิมนุษยชนไม่น้อยกว่าห้าคน ส่วนร่วมของผู้แทนจากองค์การเอกชนด้านสิทธิมนุษยชนด้วย
ประธานกรรมการและกรรมการในคณะกรรม ให้ประธานวุฒิสภาลงนามรับสนองพระบรม
การสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีวาระการดำรงตำแหน่งหก ราชโองการแต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการสิทธิ
ปีนับแต่วันที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง มนุษยชนแห่งชาติ
ให้ประธานรัฐสภาลงนามรับสนองพระบรม คุณสมบัติ ลักษณะต้องห้าม การสรรหา การ
ราชโองการแต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการสิทธิ คัดเลือก การถอดถอน และการกำหนดค่าตอบแทน
มนุษยชนแห่งชาติ กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ให้เป็นไปตามที่
คุณสมบัติ ลักษณะต้องห้าม หลักเกณฑ์การ กฎหมายบัญญัติ
สรรหา การคัดเลือก การถอดถอนและการกำหนดค่า กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีวาระการ
ตอบแทนประธานกรรมการและกรรมการสิทธิมนุษยชน ดำรงตำแหน่งหกปีนับแต่วันที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่ง
แห่งชาติ ให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ ตั้ง และให้ดำรงตำแหน่งได้เพียงวาระเดียว
มาตรา ๒๐๐ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน มาตรา ๒๐๐ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
แห่งชาติมีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ แห่งชาติมีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
(๑) ตรวจสอบ และรายงานการกระทำหรือ (๑) ตรวจสอบและรายงานการกระทำหรือ
การละเลยการกระทำอันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน การละเลยการกระทำอันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน
หรืออันไม่เป็นไปตามพันธกรณีระหว่างประเทศเกี่ยว หรืออันไม่เป็นไปตามพันธกรณีระหว่างประเทศเกี่ยว
กับสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยให้การรับรอง และเสนอ กับสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเป็นภาคี และเสนอ
มาตรการการแก้ไขที่เหมาะสม มาตรการการแก้ไขที่เหมาะสมต่อบุคคลหรือหน่วยงาน
(๒) เสนอแนะนโยบาย และข้อเสนอในการ ที่กระทำหรือละเลยการกระทำดังกล่าวเพื่อดำเนินการ
ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับต่อรัฐสภาและ ในกรณีที่ปรากฏว่าไม่มีการดำเนินการตามที่เสนอ ให้
คณะรัฐมนตรีเพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน รายงานต่อรัฐสภาเพื่อดำเนินการต่อไป
(๓) ส่งเสริมการศึกษา การวิจัยและการเผย (๒) เสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการ
แพร่ความรู้ด้านสิทธิมนุษยชน ปรับปรุงกฎหมาย กฎ หรือข้อบังคับ ต่อรัฐสภาและ
(๔) ส่งเสริมความร่วมมือและการประสาน คณะรัฐมนตรีเพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
งานระหว่างหน่วยราชการ องค์การเอกชน และองค์การ (๓) ส่งเสริมการศึกษา การวิจัย และการเผยแพร่ความรู้ด้านสิทธิมนุษยชน
อื่น ๆ ในด้านสิทธิมนุษยชน (๔) ส่งเสริมความร่วมมือและการประสาน
(๕) จัดทำรายงานประจำปีเพื่อประเมิน งานระหว่างหน่วยราชการ องค์การเอกชน และองค์การ
สถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนภายในประเทศ อื่น ในด้านสิทธิมนุษยชน
(๖) อำนาจหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ (๕) จัดทำรายงานประจำปีเพื่อประเมินสถานการณ์ด้าน
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมี สิทธิมนุษยชน ภายในประเทศและเสนอต่อรัฐสภา
อำนาจเรียกเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวข้องจากบุคคล (๖) อำนาจหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ
ใด หรือเรียกบุคคลใดมาให้ถ้อยคำ รวมทั้งมีอำนาจอื่น ในการปฏิบัติหน้าที่ คณะกรรมการสิทธิ
เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ มนุษยชนแห่งชาติต้องคำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม
ของชาติและประชาชนประกอบด้วย
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมี
อำนาจเรียกเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวข้องจากบุคคล
ใด หรือเรียกบุคคลใดมาให้ถ้อยคำ รวมทั้งมีอำนาจอื่น
เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ ทั้งนี้ ตามที่
กฎหมายบัญญัติ
--คณะกรรมาธิการประชาสัมพันธ์สภาร่างรัฐธรรมนูญ--
หมวด ๖ หมวด ๖ หมวด ๖
รัฐสภา รัฐสภา รัฐสภา
-------- -------- --------
(ความในส่วนที่ ๘ ว่าด้วยคณะกรรมาธิการ ส่วนที่ ๘ ส่วนที่ ๘
สิทธิมนุษยชนแห่งชาติของรัฐธรรมนูญฯ ฉบับใหม่ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
บัญญัติขึ้นใหม่ทั้งส่วน) -------------------------------- --------------------------------
มาตรา ๑๙๙ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน มาตรา ๑๙๙ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
แห่งชาติ ประกอบด้วยประธานกรรมการคนหนึ่ง และ แห่งชาติ ประกอบด้วยประธานกรรมการคนหนึ่ง และ
กรรมการอื่นสิบคน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตาม กรรมการอื่นอีกสิบคน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง
คำแนะนำของรัฐสภาจากผู้ซึ่งมีความรู้หรือ ตามคำแนะนำของวุฒิสภาจากผู้ซึ่งมีความรู้หรือ
ประสบการณ์ด้านการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของ ประสบการณ์ด้านการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของ
ประชาชนเป็นที่ประจักษ์ โดยให้มีผู้แทนจากองค์การ ประชาชนเป็นที่ประจักษ์ ทั้งนี้ โดยต้องคำนึงถึงการมี
เอกชนด้านสิทธิมนุษยชนไม่น้อยกว่าห้าคน ส่วนร่วมของผู้แทนจากองค์การเอกชนด้านสิทธิมนุษยชนด้วย
ประธานกรรมการและกรรมการในคณะกรรม ให้ประธานวุฒิสภาลงนามรับสนองพระบรม
การสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีวาระการดำรงตำแหน่งหก ราชโองการแต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการสิทธิ
ปีนับแต่วันที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง มนุษยชนแห่งชาติ
ให้ประธานรัฐสภาลงนามรับสนองพระบรม คุณสมบัติ ลักษณะต้องห้าม การสรรหา การ
ราชโองการแต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการสิทธิ คัดเลือก การถอดถอน และการกำหนดค่าตอบแทน
มนุษยชนแห่งชาติ กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ให้เป็นไปตามที่
คุณสมบัติ ลักษณะต้องห้าม หลักเกณฑ์การ กฎหมายบัญญัติ
สรรหา การคัดเลือก การถอดถอนและการกำหนดค่า กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีวาระการ
ตอบแทนประธานกรรมการและกรรมการสิทธิมนุษยชน ดำรงตำแหน่งหกปีนับแต่วันที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่ง
แห่งชาติ ให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ ตั้ง และให้ดำรงตำแหน่งได้เพียงวาระเดียว
มาตรา ๒๐๐ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน มาตรา ๒๐๐ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
แห่งชาติมีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ แห่งชาติมีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
(๑) ตรวจสอบ และรายงานการกระทำหรือ (๑) ตรวจสอบและรายงานการกระทำหรือ
การละเลยการกระทำอันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน การละเลยการกระทำอันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน
หรืออันไม่เป็นไปตามพันธกรณีระหว่างประเทศเกี่ยว หรืออันไม่เป็นไปตามพันธกรณีระหว่างประเทศเกี่ยว
กับสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยให้การรับรอง และเสนอ กับสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเป็นภาคี และเสนอ
มาตรการการแก้ไขที่เหมาะสม มาตรการการแก้ไขที่เหมาะสมต่อบุคคลหรือหน่วยงาน
(๒) เสนอแนะนโยบาย และข้อเสนอในการ ที่กระทำหรือละเลยการกระทำดังกล่าวเพื่อดำเนินการ
ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับต่อรัฐสภาและ ในกรณีที่ปรากฏว่าไม่มีการดำเนินการตามที่เสนอ ให้
คณะรัฐมนตรีเพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน รายงานต่อรัฐสภาเพื่อดำเนินการต่อไป
(๓) ส่งเสริมการศึกษา การวิจัยและการเผย (๒) เสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการ
แพร่ความรู้ด้านสิทธิมนุษยชน ปรับปรุงกฎหมาย กฎ หรือข้อบังคับ ต่อรัฐสภาและ
(๔) ส่งเสริมความร่วมมือและการประสาน คณะรัฐมนตรีเพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
งานระหว่างหน่วยราชการ องค์การเอกชน และองค์การ (๓) ส่งเสริมการศึกษา การวิจัย และการเผยแพร่ความรู้ด้านสิทธิมนุษยชน
อื่น ๆ ในด้านสิทธิมนุษยชน (๔) ส่งเสริมความร่วมมือและการประสาน
(๕) จัดทำรายงานประจำปีเพื่อประเมิน งานระหว่างหน่วยราชการ องค์การเอกชน และองค์การ
สถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนภายในประเทศ อื่น ในด้านสิทธิมนุษยชน
(๖) อำนาจหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ (๕) จัดทำรายงานประจำปีเพื่อประเมินสถานการณ์ด้าน
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมี สิทธิมนุษยชน ภายในประเทศและเสนอต่อรัฐสภา
อำนาจเรียกเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวข้องจากบุคคล (๖) อำนาจหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ
ใด หรือเรียกบุคคลใดมาให้ถ้อยคำ รวมทั้งมีอำนาจอื่น ในการปฏิบัติหน้าที่ คณะกรรมการสิทธิ
เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ มนุษยชนแห่งชาติต้องคำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม
ของชาติและประชาชนประกอบด้วย
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมี
อำนาจเรียกเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวข้องจากบุคคล
ใด หรือเรียกบุคคลใดมาให้ถ้อยคำ รวมทั้งมีอำนาจอื่น
เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ ทั้งนี้ ตามที่
กฎหมายบัญญัติ
--คณะกรรมาธิการประชาสัมพันธ์สภาร่างรัฐธรรมนูญ--