เปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ : ศาล

ข่าวการเมือง Monday September 1, 1997 10:22 —สภาร่างรัฐธรรมนูญ

หมวดที่ 8 ศาล
ส่วนที่ 1 บททั่วไป
ร่างของสภาร่างรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญหรือกฏหมายปัจจุบัน
- องค์คณะของศาลคงที่ตายตัวและห้ามผู้บริหาร - ไม่มีกฎเกณฑ์เกี่ยวกับองค์คณะของ
ศาล ที่มิได้เป็นองค์คณะมาแต่ตันลงไปร่วม ผู้พิพากษาดังนั้นผู้พิพากษาหัวหน้าศาล
พิจารณา หรือทำคำพิพากษา หรืออธิบดีศาลอาจลงชื่อในคำพิพากษา
แทน โดยไม่มีส่วนในการพิจารณาคดีนั้น
ด้วยตนเองเลย
- หมายจับบุคคลจะออกได้ต่อเมื่อมีหลักฐาน - หมายจับออกโดยการอนุมัติของผู้ว่า
พอควรและมีเหตุเชื่อว่าจะหลบหนี รบกวน ราชการ จังหวัดหรือผู้ตรวจราชการ
พยานหลักฐานหรือก่อเหตุอันตรายอื่น ทั้งนี้ กระทรวงมหาดไทยซึ่งเป็นเจ้าพนักงาน
จะต้องมีคำสั่งหรือหมายจากศาล ฝ่ายปกครอง
- ผู้ต้องหาในคดีอาญามีสิทธิ์ขอให้ทนายความ - รัฐให้ความช่วยเหลือด้วยการหาทนาย
เข้าฟังการสอบคำให้การของตน ให้ในคดีอาญา ในขั้นศาลเท่านั้น
- เจ้าพนักงานมีอำนาจคุมขังได้เพียง 48 - เจ้าพนักงานจับกุมคุมขังได้ไม่เกิน
ชั่วโมงก่อนจะนำตัวไปขอหมายขังจากศาล 72 ชั่วโมงและให้ส่งฟ้องโดยเร็ว
- ผู้เสียหายหรือผู้ต้องหามีสิทธิ์ขอถ่ายสำเนา - มีสิทธิ์จะได้รับการสอบสวนหรือการ
สำนวนคำให้การในการสอบสวน พิจารณาคดีโดยเร็ว
- พยานในคดีอาญามีสิทธิ์ได้รับความคุ้มครอง - ไม่มีระบุ
และค่าตอบแทนที่จำเป็นและเหมาะสมจากรัฐ
- ผู้รับความเสียหายแก่ชีวิต ร่างกายหรือจิตใจ - ไม่มีระบุ
จากการกระทำผิดอาญาของผู้อื่น บุคคลนั้นหรือ
ทายาทมีสิทธิ์ได้รับค่าชดเชยจากรัฐ
- ผู้รับโทษอาญาโดยคำพิพากษาถึงที่สุดมีสิทธิ์ - ผู้รับโทษอาญาโดยคำพิพากษาถึงที่สุด
ร้องขอให้รื้อฟื้นคดี หากปรากฏว่าพ้นผิดบุคคล หากมีการรื้อฟื้นคดีและปรากฎว่าพ้นผิด
นั้นหรือทายาทมีสิทธิ์ได้รับค่าทดแทนจากรัฐ
- ผู้เป็นจำเลยในคดีอาญา และถูกคุมขังระหว่าง - ไม่มีระบุ
พิจารณาคดี หากพ้นผิดตามคำพิพากษาถึงที่สุด
มิสิทธิ์ได้รับค่าชดเชยจากรัฐ
- การจ่ายสำนวนต้องมีกฎเกณฑ์ที่โปร่งใส และ - ไม่มีกฎเกณฑ์เป็นลายลักษณ์อักษรเป็น
ห้ามเรียกคืนหรือโอนสำนวนที่จ่ายแล้วเว้นแต่ ดุลยพินิจของหัวหน้าศาลและอธิบดีศาล
จะมีเหตุอันสมควรที่จะกระทบกระเทือนต่อ ที่จะจ่ายสำนวนให้ผู้ใด
ความยุติธรรมในการพิจารณาอรรถคดี
- การเพิกถอนอำนาจพิพากษาของผู้พิพากษา - อำนาจการโยกย้ายขึ้นกับดุลยพินิจของ
และการโยกย้ายผู้พิพากษาระหว่างพิพากษา ของ ก.ต.
พิจารณาคดีใดคดีหนึ่ง โดยไม่ได้รับความ
ยินยอมจากผู้พิพากษาจะกระทำมิได้
- ผู้พิพากษาเป็นอิสระจากสายบังคับบัญชาและ - ไม่มีระบุ แต่ทางปฎิบัติสายบังคับบัญชา
มีระบบบัญชีเงินเดือนต่างหากจากบัญชีเงิน และระบบเงินเดือนอาจมีผลกระทบต่อ
เดือนของข้าราชการพลเรือน ความเป็นอิสระของผู้พิพากษา
- บุคคลจะดำรงตำแหน่ง ก.ต.ของศาลมาก - ไม่มีระบุ
กว่า 1 ศาลไม่ได้
หลักการที่ตัดออกจากร่างของกรรมาธิการยกร่างฯ
- ศาลรัฐธรรมนูญเป็นผู้วินิจฉัยชี้ขาดเกี่ยวกับ - แต่ละศาลพิจารณาตามเขตอำนาจที่
ปัญหาขัดแย้งของเขตอำนาจศาลอื่นๆ กฎหมายกำหนด
ส่วนที่ 2 ศาลรัฐธรรมนูญ
- เป็นองค์การทางศาลที่เป็นอิสระ - คณะตุลาการรัฐธรรมนูญเป็นองค์กร
ทางการเมือง
- มีประธาน 1 คน และตุลาการ 14 คน - ประธานรัฐสภา ประธานวุฒิสภา
คัดเลือกจากการสรรหาของที่ประชุมใหญ่ ประธานศาลฎีกา อัยการสูงสุดเป็นโดย
ศาลฎีกาลงคะแนนลับเลือกผู้พิพากษาศาล ตำแหน่ง อีกส่วนหนึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญทาง
ฎีกา 5 คน ที่ประชุมใหญ่ศาลปกครองสูง กฎหมาย มาจากคัดเลือกของสภาละ 3
สุดลงคะแนนลับ เลือกตุลาการในศาล คนรวม 10 คน
ปกครองสูงสุด 2 คน ประธานศาลฎีกา
คณะบดีนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์ในสถาบัน
อุดมศึกษาของรัฐ อย่างละ 4 คน เป็น
กรรมการ ร่วมเสนอชื่อผู้ทรงคุณวุฒิสาขา
นิติศาสตร์ 10 คน ผู้ทรงคุณวุฒิสาขา
รัฐศาสตร์ 6 คน แล้วให้ที่ประชุมวุฒิสภา
คัดเลือกเหลือ 5 คนและ 3 คนตามลำดับ
- ห้ามเป็นสมาชิกพรรคการเมือง หรือดำรง - ห้ามเป็นสมาชิกพรรคการเมือง ยกเว้น
ตำแหน่งในพรรคการเมืองอย่างน้อย 3 ปี ประธานรัฐสภาที่เป็นโดยตำแหน่ง
ก่อนดำรงตำแหน่ง
- ห้ามเป็นหรือต้องลาออกจากการเป็น - ไม่ห้ามการเป็นลูกจ้างหรือมีตำแหน่งใน
ข้าราชการประจำ พนักงานลูกจ้างของรัฐ บริษัทเอกชน หรือประกอบอาชีพอิสระ
รัฐวิสาหกิจ ดำรงตำแหน่งหรือเป็นลูกจ้าง
ในบริษัทเอกชนที่มุ่งกำไรหรือประกอบอาชีพ
อิสระใดๆ
- ถอดถอนโดยมติ 3 ใน 5 ของสมาชิกวุฒิสภา - ไม่มีระบุ
- อายุ 45 ปีขึ้นไป วาระดำรงตำแหน่ง 9 ปี - ไม่กำหนดอายุ วาระดำรงตำแหน่ง 4 ปี
- ดำรงตำแหน่งได้สมัยเดียว - กลับดำรงตำแหน่งได้อีกเมื่อหมดวาระ
- มีอำนาจวินิจฉัยร่าง พรบ.ที่ ส.ส. สว. 1 - มีอำนาจวินิจฉัยร่าง พรบ.ที่ ส.ส. สว.
ใน 10 หรือ นายกรัฐมนตรีเห็นว่าขัดแย้งต่อ 1 ใน 5 หรือนายกรัฐมนตรีเห็นว่าขัด
รัฐธรรมนูญและร่าง พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญ แย้งต่อรัฐธรรมนูญ แล้วให้ข้อความที่
ที่ ส.ส.หรือ สว.20 คน หรือนายกรัฐมนตรี ขัดแย้งนั้นตกไป
เห็นว่าขัดแย้งต่อรัฐธรรมนูญ แล้วให้ข้อความ
ที่ขัดแย้งนั้นตกไป
หลัการที่ตัดออกจากร่างของกรรมาธิการยกร่างฯ
- ให้อำนาจวินิจฉัยสั่งให้บุคคลหรือพรรคการ - ไม่มีระบุ
เมืองยุติการกระทำที่เป็นปฎิปักษ์ต่อชาติ
ศาสนา พระมหากษัตริย์และรัฐธรรมนูญ
และสั่งยุบพรรคการเมืองนั้นตามที่อัยการสูง
สุดร้องขอ หรือสั่งเพิกถอนสิทธ์ขั้นพื้นฐาน
ของบุคคลนั้นตามที่เห็นควร
ส่วนที่ 3 ศาลยุติธรรม
- ให้ศาลและหน่วยงานธุรการของศาลเป็น - ศาลและหน่วยงานธุรการของศาลขึ้นกับ
หน่วยงานอิสระขึ้นกับประธานศาลฎีกา กระทรวงยุติธรรม
- ให้ ก.ต.มีบุคคลภายนอกที่ไม่เคยเป็น - ก.ต. ประกอบ้วยผู้เป็นตุลาการเท่านั้น
ข้าราชการตุลาการที่วุฒิสภาแต่งตั้งเป็น
กรรมการ 2 คน
- ให้มีแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทาง - ความผิดของผู้ดำรงตำแหน่งทางการ
การเมือง มีองค์คณะประกอบด้วยผู้พิพากษา เมืองใช้กระบวนยุติธรรมผ่านศาล
ในศาลฎีกา 9 คนเฉพาะในแต่ละคดี มีเขต อาญาตามกระบวนการปรกติ
อำนาจศาลเฉพาะกรณีทุจริตร่ำรวยผิดปรกติ
ของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองเท่านั้นและ
ให้ผลการวินิจฉัยเป็นที่ยุติในชั้นเดียว
หลักการที่ตัดออกจากร่างของกรรมาธิการยกร่างฯ
- ให้ศาลฎีกาพิพากษาคดีเฉพาะปัญหาข้อกฎหมาย - ศาลฎีกามีอำนาจพิพากษาวินิจฉัย
เท่านั้น ปัญาหาข้อเท็จจริงเช่นเดียวกับศาลชั้นต้น
และอุทธรณ์
ส่วนที่ 4 ศาลปกครอง
- เป็นระบบศาลคู่ที่มีหน่วยธุรการเป็นอิสระจาก - ให้มีศาลปกครองอยู่ในระบบศาลคู่
ฝ่ายบริหารและฝ่ายตุลาการ ขึ้นตรงต่อ แต่รอกฎหมายที่ตามมาเพื่อกำหนด
ประธานศาลปกครองสูงสุด สถานะหน้าที่
- มีอำนาจพิจารษข้อพิพาทระหว่างหน่วยราชการ - ยังไม่มีกฎหมายรองรับโครงสร้างและ
รัฐวิสาหกิจหรือเจ้าหน้าที่รัฐกับเอกชน หรือ อำนาจหน้าที่
ระหว่างหน่วยงานรัฐด้วยกัน
- คณะกรรมการตุลาการศาลปกครองเป็นผู้แต่งตั้ง - ศาลและหน่วยงานธุรการของศาลขึ้นกับ
ถอดถอนตุลาการศาลปกครอง กระทรวงยุติธรรม
- คณะกรรมการตุลาการศาลปกครองประกอบด้วย - ห้ามเป็นสมาชิกพรรคการเมือง ยกเว้น
ประธานศาลปกครองสูงสุดเป็นประธาน และ ประธานรัฐสภาที่เป็นโดยตำแหน่ง
ตุลาการศาลปกครองที่คัดเลือกกันเอง 9 คน
เป็นกรรมการ และกรรมการผู้ทรงวุฒิ 3 คน
ที่มาจากการคัดเลือกของวุฒิสภา 2 คน จาก
คณะรัฐมนตรี 1 คน
ส่วนที่ 5 ศาลทหาร
- เป็นไปตามรัฐธรรมนูญปัจจุบัน
แหล่งที่มา : หนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ