หมวดที่ 6 รัฐสภา
ส่วนที่ 1 บททั่วไป
ร่างของสภาร่างรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญหรือกฎหมายปัจจุบัน
เปลี่ยนแปลงเพียงถ้อยคำโดยนำคำสภาผู้แทนราษฎรมาอยู่หน้าวุฒิสภาซึ่งเป็นสภาที่ 2 เนื่องจากบทบาท
หน้าที่ที่สำคัญกว่า ต่างจากรัฐธรรมนูญฉบับก่อนๆ ที่ถือว่าวุฒิสภาเป็นสภาสูง
ส่วนที่ 2 สภาผู้แทนราษฎร
- ส.ส. 500 คน มาจากการเลือกตั้งแบบสัด- - จำนวน ส.ส. ขึ้นกับสัดส่วนประชากรแสนห้าหมื่น
ส่วนปาร์ตี้ลิสที่มีเขตประเทศเป็นเขตเลือกตั้ง คนต่อ ส.ส. 1 คนเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเรียงเบอร์
100 คนโดยกระจายผู้สมัครจากภูมิภาคต่างๆ
อย่างเป็นธรรม และจากการเลือกตั้งเขต
เดียวคนเดียวที่มีเขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง
400 คน
- ไม่ห้ามบุคคลที่หูหนวกเป็นใบ้เป็น ส.ส. - บุคคลที่หูหนวก และเป็นใบ้ห้ามเป็น ส.ส.
- ส.ส.ต้องมีสังกัดพรรคการเมืองก่อนวันเลือก - ส.ส.ต้องสังกัดพรรคการเมือง
ตั้งมาแล้วไม่ต่ำกว่า 90 วัน
- ส.ส.ต้องมีวุฒิไม่ต่ำกว่าปริญญาตรี เว้นแต่ผู้ - ไม่ระบุวุฒิการศึกษาของ ส.ส.
เคยเป็น ส.ส. สว.มาก่อน
- ไม่ห้ามการถือสัมปทานจากรัฐ ที่มีก่อนที่จะได้ - ห้ามคงถือไว้ ซึ่งสัมปทานจากรัฐ
รับเลือกเป็น ส.ส.
- ลงสมัครรับเลือกตั้งในรูปแบบการเลือกตั้งทั้ง - มีวิธีการเลือกตั้งแบบเดียว
2 แบบพร้อมกันไม่ได้
- การนับคะแนนให้นับรวมกันที่เดียวในเขตเลือก - การนับคะแนนให้นับที่หน่วยเลือกตั้ง
ตั้งนั้นๆ
- พรรคการเมืองใดที่ได้รับคะแนนเลือกตั้งแบบ - คะแนนของผู้สมัครที่สอบตกไม่มีความหมาย
สัดส่วนปาร์ตี้ลิสไม่ถึง 5% ของผู้ลงคะแนน
ทั้งหมดจะไม่ได้ ส.ส.ในสัดส่วนปาร์ตี้ลิสนั้น
- ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งนอกเขตเลือกตั้ง หรือมีถิ่นที่ - ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งต้องเป็นผู้มีทะเบียนบ้านในเขต
อยู่ นอกประเทศมีสิทธิ์ลงคะแนนเลือกตั้งแต่ เลือกตั้งนั้นเท่านั้น
ยังไม่มีข้อยุติว่าลงคะแนนได้เฉพาะการเลือกตั้ง
แบบปาร์ตี้ลิสเท่านั้น หรือทั้ง 2 แบบ ขึ้นกับ
กฎหมายลูกที่รัฐสภาจะออกต่อมา
- ส.ส.ที่เป็นนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีต้องพ้น - ส.ส.เป็นนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีได้
จากการเป็นส.ส. ในขณะเดียวกัน
- ส.ส.ที่ขาดการประชุมเกิน 1 ใน 4 ของวัน - ส.ส.ที่ขาดตลอดสมัยประชุมสภาต้องพ้น
ประชุมในแต่ละสมัยประชุมสภา ต้องพ้น สมาชิกภาพ
สมาชิกภาพ
หลักการที่ตัดออกจากร่างของกรรมาธิการยกร่างฯ
- การห้ามส.ส.ถือครองสัมปทานจากรัฐทั้งก่อน
และขณะเป็นส.ส.ทั้งทางตรงหรือทางอ้อม
- นายกรัฐมนตรีต้องปรึกษาคณะรัฐมนตรีก่อนนำ - นายกรัฐมนตรีมีอำนาจตัดสินใจยุบสภา
มติคณะรัฐมนตรีขึ้นทูลเกล้าฯตราพระราชกฤษฎี แต่เพียงผู้เดียวการยุบสภา
ส่วนที่ 3 วุฒิสภา
- มีวาระดำรงตำแหน่ง 6 ปี - มีวาระดำรงตำแหน่ง 4 ปี
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง หากเคยเป็นส.ส. - ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ต้องพ้นมาแล้ว 1 ปี
- ห้ามเป็นวุฒิสมาชิกติดต่อกัน 2 สมัย - เป็นวุฒิฯ ติดต่อกันได้ไม่จำกัดสมัย
- ไม่ห้ามบุคคที่หูหนวก เป็นใบ้เป็นวุฒิสมาชิกวุฒิฯ - บุคคลที่หูหนวก และเป็นใบ้ห้ามเป็น
- ไม่เป็นข้าราชการประจำ พนักงานรัฐวิสาหกิจ - เป็นข้าราชการประจำ พนักงานรัฐวิสาหกิจได้
- ห้ามเป็นรัฐมนตรี หรือข้าราชการการเมือง - วุฒิฯ ที่ไม่ได้เป็นข้าราชการประจำ ไปเป็น
ยกเว้นพ้นจากวุฒิฯ ไปแล้ว 1 ปี รัฐมนตรีหรือข้าราชการการเมืองได้ ในขณะ
เดียวกันได้
- มีอายุตั้งแต่ 40 ปีขึ้นไป - มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป
- วุฒิการศึกษาปริญญาตรีขึ้นไปหรือเทียบเท่า - ไม่จำกัดวุฒิการศึกษา
- ทำหน้าที่กลั่นกรองกฎหมาย แต่งตั้งและถอด - ทำหน้าที่กลั่นกรองกฎหมายเท่านั้น
ถอนผู้ดำรงตำแหน่งองค์กรตรวจสอบทางการ
เมืองถอดถอนรัฐมนตรี ข้าราชการการเมือง
ข้าราชการประจำระดับสูงประธานศาล และ
อัยการสูงสุด ส.ส.
- มีอำนาจตั้งกระทู้ถาม อภิปรายทั่วไปเกี่ยวกับ - ไม่มีอำนาจอภิปรายทั่วไป
ปัญหาสำคัญของชาติโดยไม่มีการลงมติ
- วุฒิสมาชิกมีจำนวนตายตัว 200 คน - มีจำนวน 2 ใน 3 ของจำนวนส.ส.
- มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน - นายกรัฐมนตรีคัดเลือกเสนอชื่อเพื่อทูลเกล้าฯ
ถือเขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง แต่เพียงผู้เดียว
ลงคะแนนเลือกได้ 1 คนจังหวัดใดที่มีได้มากว่า
1 คนให้ผู้ได้รับคะแนนสูงสุดและลำดับถัดไปได้
รับเลือกตั้งเท่าจำนวนวุฒิฯ ที่จังหวัดนั้นมี
- ในการเลือกตั้งห้ามหาเสียงนอกเหนือจากที่
กฎหมายกำหนด
ส่วนที่ 4 คณะกรรมการเลือกตั้ง
- จำนวน 5 คน เป็นผู้มีอายุ 40 ปีขึ้นไป - อำนาจการกำกับดูแลและสั่งการข้าราชการ
ดำเนินการเกี่ยวกับการเลือกตั้งเป็นของ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย โดยมี
กระทรวงมหาดไทยเป็นผู้ปฏิบัติ
- วุฒิปริญญาตรีขึ้นไป
- ใน 5 ปีที่ผ่านมา ไม่เป็นหรือไม่เคยเป็น
สมาชิกหรือมีตำแหน่งในพรรคการเมือง
- ไม่เป็นข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจหรือ
ข้าราชการส่วนท้องถิ่น ผู้มีตำแหน่งในบริษัท
เอกชนที่ดำเนินธุรกิจค้ากำไร
- วาระดำรงตำแหน่ง 7 ปี เป็นได้วาระเดียว
- เป็นผู้ควบคุมและดำเนินการเลือกตั้งทุกระดับ
การออกเสียงประชามติและเป็นนายทะเบียน
พรรคการเมือง
- สั่งการให้ข้าราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ
ข้าราชการส่วนท้องถิ่น ปฏิบัติตามกฎหมาย
เลือกตั้งกฎหมายพรรคการเมือง กฎหมายออก
เสียงประชามติ
- สืบสวนสอบสวนและวินิจฉัยชี้ขาดปัญหาข้อโต้
แย้งในกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
- สั่งการให้มีการเลือกตั้ง หรือการออกเสียง
ประชามติใหม่เมื่อการลงคะแนนในเขตเลือกตั้ง
ใดไม่สุจริต
- ประกาศผลเลือกตั้งและผลออกเสียงประชามติ
- เห็นชอบการแต่งตั้งโยกย้ายข้าราชการประจำ - คณะรัฐมนตรีรักษาการมีอำนาจแต่งตั้งโยกย้าย
ตามที่คณะรัฐมนตรีรักษาการเสนอ ข้าราชการประจำ
- สรรหามาโดยคณะกรรมการหาซึ่งมาจาก 1)
ประธานศาลรัฐธรรมนูญ ประธานศาลปกครอง
สูงสุดอธิการบดีของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐทุก
แห่งคัดเลือกกันเองเหลือ 4 คน ผู้แทนพรรค
การเมืองของรัฐทุกพรรคที่มี ส.ส. ในสภา
คัดเลือกกันเองเหลือ 4 คน ร่วมกันเสนอชื่อ
ผู้มีคุณสมบัติ 5 คน 2) ที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกา
เสนอชื่อผู้เหมาะสม 5 คน จากนั้นให้ที่ประชุม
วุฒิสภาลงคะแนนลับ ให้ได้ผู้มีคะแนนสูงสุด 5
อันดับแรกที่มีคะแนนเกินกึ่งหนึ่งของจำนวนวุฒิฯ
ที่ออกเสียงเป็นกรรมการเลือกตั้ง หากได้ไม่
เกิน 5 คนให้นำชื่อที่เหลือมาลงคะแนนอีกครั้ง
แล้วให้ผู้ได้คะแนนสูงสุด ได้รับเลือกจนครบ
5 คน
ส่วนที่ 5 บทที่ใช้แก่สภาทั้งสอง
- บุคคลที่ได้รับความเสียหายจากการกล่าวถ้อย - ไม่มีระบุ
คำของ ส.ส.สว.ในที่ประชุมสภาใด ร้องขอ
ให้ประธานแห่งสภานั้น โฆษณาคำชี้แจงของ
ผู้นั้นได้ โดยไม่กระทบต่อสิทธิ์ในการฟ้องร้อง
- มีสมัยประชุมสามัญ 2 ครั้งใน 1 ปี สมัยแรก - มีสมัยประชุมสามัญ 2 ครั้งใน 1 ปี เป็นสมัย
เป็นสมัยสามัญทั่วไป สมัยที่สองเป็นสมัยสามัญ ประชุมสามัญทั่วไปที่พิจารณาญัตติ กระทู้เรื่อง
นิติบัญญัติ ซึ่งพิจารณาเฉพาะเรื่องกฎหมาย อื่นๆ ทั่วไปและกฎหมาย
การออกพระราชกำหนดและการตั้งกระทู้ถาม
- สมัยประชุมสามัญสมัยละ 120 วัน - สมัยประชุมสามัญสมัยละ 90 วัน
- การลงคะแนนเสียงทุกครั้งต้องบันทึกและเปิด - ไม่มีระบุ
เผยต่อสาธารณะเพื่อการตรวจสอบ เว้นแต่
เป็นการลงคะแนนลับ
- ส.ส.ต่างพรรค 20 คนขึ้นไป ที่มีมติพรรค - ส.ส.พรรคเดียวกัน 20 คนขึ้นไปจึงจะให้
รับรองสามารถเสนอพระราชบัญญัติได้ สามารถเสนอพระราชบัญญัติได้
- ให้อำนาจที่ประชุมร่วม ของประธานสภา - ให้อำนาจประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็น
ผู้แทนราษฎรกับประธานคณะกรรมาธิการสามัญ ผู้วินิจฉัยว่าพระราชบัญญัติฉบับใดเกี่ยวการเงิน
ของสภา ผู้แทนฯทุกคณะวินิจฉัยว่าพระราชบัญญัติ หรือไม่
ฉบับใดเกี่ยวกับการเงินหรือไม่
- ผู้มีสิทธิเลือกตั้งห้าหมื่นคนขึ้นไปมีสิทธิ์เข้าชื่อให้ - ไม่มีระบุ
รัฐสภาพิจารณากฏหมายเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพ
และหลักการพื้นฐานในการกำหนดแนวนโยบาย
ของรัฐโดยจัดทำเป็นร่างพรบ.เสนอมาด้วย
- ร่างพระราชบัญญัติที่ระบุไว้ในนโยบายของ - หากร่างพระราชบัญญัติที่ไม่ได้ความเห็นใน
รัฐบาลที่ได้แถลงต่อรัฐสภา หากตกไปในสภา สภาผู้แทนฯให้ตกไปกรณีที่เป็นพระราชบัญญัติ
ผู้แทนฯ ด้วยเสียงไม่เห็นชอบไม่ถึงครึ่งหนึ่ง เกี่ยวข้องกับการเงิน มีผลผูกพันถึงความ
คณะรัฐมนตรี อาจขอให้รัฐสภาพิจารณากฏหมาย รับผิดชอบของรัฐบาลอาจต้องลาออก
นั้นต่อได้
- ให้พระราชบัญญัติที่ตกไปเนื่องจากยุบสภา - พระราชบัญญัติเป็นอันตกไปเนื่องจากการหมด
สามารถนำมาพิจารณาต่อ หากรัฐบาลหรือ วาระต้องเริ่มกระใหม่ร้องขอและใหม่ร้องขอ
รัฐสภาเห็นชอบภายใน 60 วันนับจากวัน และรัฐสภาบวนการตั้งแต่ต้น
เรียกประชุม รัฐสภาครั้งแรก
- ห้ามส.ส.หรือกรรมาธิการมีส่วนโดยตรงหรือ - มีงบพัฒนาจังหวัดเปิดทางให้ ส.ส. และ
โดยอ้อม ในการก่อให้เกิดการใช้จ่ายงบ กรรมาธิการมีส่วนใช้งบประมาณทางอ้อม
ประมาณ ส.ส.สว. 1 ใน 10 ของแต่ละสภา ทางอ้อม
อาจเข้าชื่อให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้การ
แปรญัตติหรือการกระทำที่ฝ่าฝืนนั้นสิ้นผลไป
- ส.ส.สามารถตั้งกระทู้ถามสดให้นายกรัฐมนตรี - การตอบกระทู้ถามให้ตอบในราช
หรือรัฐมนตรีตอบด้วยวาจาได้เรื่องละไม่เกิน กิจจานุเบกษา
3 คำถามทำได้สัปดาห์และ 1 ครั้ง
- ส.ส.ไม่ต่ำกว่า 2 ใน 5 ของสภาผู้แทนฯ - ส.ส.ไม่ต่ำกว่า 1 ใน 5 ของสภาผู้แทนฯ
มีสิทธิ์เข้าชื่อยื่นญัตติอภิปรายไม่ไว้วางใจ มีสิทธิ์เข้าชื่อยี่นญัตติอภิปรายไม่ไว้วางใจ
นายกฯโดยต้องเสนอชื่อผู้สมควรเป็นนายก โดยไม่มีการเสนอชื่อนายกฯ คนต่อไป
รัฐมนตรีคนต่อไป
- เมื่อมีการเสนอญัตติแล้วจะยุบสภาไม่ได้จน - นายกฯ อาจยุบสภาก่อนจะมีการอภิปรายไม่ไว้
กว่าจะมีถอดญัตติหรือลงมติเสร็จสิ้นแล้ว วางใจหรือก่อนลงมติก็ได้
- ในกรณีเสียงไม่ไว้วางใจนายกฯ เกินกว่า - ในกรณีเสียงไม่ไว้วางใจเกินกว่ากึ่งหนึ่ง
กึ่งหนึ่ง ให้ประธานรัฐสภานำชื่อผู้ถูกเสนอ ให้นายกฯ และคณะรัฐมนตรีพ้นไป
ตามญัตติเป็นนายกฯ ขึ้นทูลเกล้าฯ เพื่อ
แต่งตั้งต่อไป
- ร่างพรบ. ที่เกี่ยวกับเด็ก สตรี คนชรา - ไม่มีระบุ
ผู้พิการให้ผู้แทนองค์กรเอกชนที่เกี่ยวข้องร่วม
ไม่เป็นกรรมาธิการน้อยกว่า 1 ใน 3
หลักการที่ตัดออกจากร่างของกรรมาธิการยกร่างฯ
- ต้องส่งร่างกฏหมายประกอบรัฐธรรมนูญที่ผ่าน - มีขั้นตอนการเสนอให้ตุลาการรัฐธรรมนูญวินิจฉัย
ความเห็นชอบจากสภาทั้งสอง ให้ศาล ในหมวดตุลาการรัฐธรรมนูญ แต่ต้องเสนอโดย
รัฐธรรมนูญพิจารณาว่าขัดต่อรัฐธรรมนูญหรือ ส.ว.หรือนายกรัฐมนตรี
ส.ส.ไม่ภายใน 30 วันก่อนนำขึ้นทูลเกล้าฯ
เพื่อลงพระปรมาภิไธย
ส่วนที่ 6 การประชุมร่วมกันของรัฐสภา
เพิ่มเติมตามข้อบัญญัติอันว่าด้วยอำนาจหน้าที่ที่รัฐสภาต้องร่วมกันเห็นชอบ เช่นการเลือกผู้ตรวจการ
แผ่นดินของรัฐสภา การเลือกตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ การเลือกกรรมการเลือกตั้ง ฯลฯ เป็นต้น
ส่วนที่ 7 ผู้ตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา
- วุฒิสภาคัดเลือก 3 คน วาระ 6 ปี - มีผู้ตรวจการรัฐสภา 5 คน แต่ยังไม่มี
- มีอำนาจหน้าที่พิจารณาสอบสวนตามคำร้องเรียน กฎหมายลูกรองรับในการทำหน้าที่
เกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย การละเลย
การปฏิบัติหน้าที่การปฏิบัติที่ขัดต่อสิทธิมนุษยชน
ของเจ้าหน้าที่รัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือข้าราชการ
ส่วนท้องถิ่น
ส่วนที่ 8 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
- จำนวน 11 คนเสนอโดยวุฒิสภาพ มีวาระ - ไม่มีองค์การนี้ในรัฐธรรมนูญเดิม
6 ปีเสรีภาพของประชาชน โดยคำนึงถึง
การมีส่วนร่วมของผู้แทนองค์การเอกชน
ด้านสิทธิมนุษยชน
- มีหน้าที่ตรวจสอบรายงานการกระทำหรือ
การละเลยการ กระทำอันเป็นการขัดต่อ
สิทธิมนุษยชนอันไม่เป็นไปตาม พันธกรณี
ที่ประเทศไทยรับรอง เพื่อรายงานต่อ
รัฐสภา
แหล่งที่มา : หนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์