กำหนดโครงสร้างและความสัมพันธ์ใหม่ของสถาบันการเมือง
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
- จำนวน 500 คนมาจากการเลือกตั้งแบบผสมเขตเดียวเบอร์เดียว 400 คน สัดส่วนปาร์ตี้ ลิส 100 คน
- ทำหน้าทีลงมติเสนอแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี ตั้งกระทู้ ถามและอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาล ควบคุม งบประมาณ พิจารณากฎหมายและมีส่วนร่วมในการแต่งตั้งและถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งการเมือง และเจ้าหน้าที่ของรัฐ
วุฒิสมาชิก
- มาจากการเลือกตั้งโดยตรง
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
- จำนวนวุฒิฯ 1 คนต่อประชากร 1 ล้านคน เศษที่เหลือ้าเกิน 5 แสนคนให้เพิ่มอีก 1 คน จังหวัดใด ต่ำกว่า 1 ล้านคน ให้มีได้ 1 คน
- อายุ 40 ปีขึ้นไป วุฒิการศึกษาไม่ต่ำกว่า ปริญญาตรีหรือเทียบเท่า
- ข้าราชการประจำต้องลาออกก่อนเป็นวุฒิสมาชิก
- ทำหน้าที่กลั่นกรองกฎหมายมีส่วนร่วมในการแต่งตั้งและถอดถอนผู้ดำรง ตำแหน่งการเมือง และเจ้าหน้าที่ของรัฐ
- มีอำนาจอภิปรายในปัญหาระดับชาติ โดยไม่มีการลงมติ
- เมื่อครบวาระ 6 ปีสามารถสมัครเป็นวุฒิสมาชิกได้อีก
คณะรัฐมนตรี
- อายุไม่ต่ำกว่า 35 ปี
- จำนวนไม่เกิน 50 คน
- ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีมีองค์ประกอบไม่เกิน 30 คน
- หากมาจากการเลือกตั้งปาร์ตี้ลิส ให้ลาออกจาก ส.ส.แล้วเลือกจากรายชื่อลำดับถัดไปมา เป็น ส.ส. แทน
- หากมาจากการเลือกตั้งเขตเดียวเบอร์เดียว ให้ลาออกจาก ส.ส.แล้วเลือกตั้งซ่อมในจัง หวัดนั้น
- อาจมาจากบุคคลภายนอก
นายกรัฐมนตรี
- อาจมาจากการเลือกตั้งแบบปาร์ตี้ลิสและแบบเขตเดียวเบอร์เดียว
- หรือมาจากการเลือกตั้งแบบปาร์ตี้ลิสเท่านั้น
- ต้องลาออกจาก ส.ส.แล้วเลือกตั้งซ่อม หรือให้ลำดับถัดไปเป็น ส.ส.แทนแล้วแต่กรณี
- ต้องได้รับการเห็นชอบเกินกึ่งหนึ่งของ ส.ส. ภายใน 30 วัน หรือต้องได้รับเสียงสนับ สนุนมากที่สุดในอีก 15 วันต่อมา มิฉะนั้นต้องยุบสภาเลือกตั้งใหม่
- ประธานรัฐสภาเป็นผู้ทูลเกล้าฯ เพื่อแต่งตั้ง
คณะกรรมการเลือกตั้ง
คณะกรรมการการเลือกตั้ง มีวาระ 9 ปี มีอำนาจหน้าที่
- กำหนดวันเลือกตั้ง
- จัดทำบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง
- แบ่งเขตเลือกตั้งล่วงหน้า
- บังคับบัญชาสั่งการเจ้าหน้าที่ในการดำเนินการเลือกตั้ง
- ตรวจสอบและวินิจฉัยเกี่ยวกับการเลือกตั้งพรรคการเมือง และการออกเสียงประชามติ
- วินิจฉัยการคัดค้านและการทุจริตการเลือกตั้ง โดยอาจอุทธรณ์ต่อศาลรัฐธรรมนูญหรือให้ผู้มี ความผิดพ้นจาก ส.ส.
มาตรการใหม่ในการเลือตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
1. ขยายการใช้สิทธิ์เลือกตั้ง
- ให้การเลือกตั้งเป็นหน้าที่พลเมือง และผู้ฝ่าฝืนถูกตัดสิทธิ์สมัครรับเลือกตั้งทุกระดับใน เวลาที่กำหนด
- รัฐอำนวยความสะดวกโดยการเพิ่มเขตเลือกตั้งหรือจัดพาหนะรับส่ง
- ให้ผู้อยู่นอกภูมิลำเนาสามารถใช้สิทธิ์เลือกตั้งเฉพาะในส่วนที่เป็นสัดส่วนปาร์ตี้ลิส
2. เปลี่ยนระบบเลือกตั้งเป็นระบบผสมแบบปารณ์ตี้ลิสและเขตเดียวเบอร์เดียว
3. กำหนดการเลือกตั้งให้เร็วขึ้น และจำกัดอำนาจผู้ดำรงตำแหน่งการเมือง
- ให้มีการเลือกตั้งหลังการยุบสภาหรือสภาหมดวาระภายใน 45 วัน
- ห้ามนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีรักษาการสั่งการในทางนโยบาย และโยกย้ายข้าราชการ โดยไม่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการเลือกตั้ง
4. คณะกรรมการเลือกตั้งที่เป็นอิสระดำเนินการเลือกตั้ง
5. รัฐจัดการหาเสียงบางประเภทให้พรรคและผู้สมัคร
- จัดพิมพ์และจัดที่ปิดโปสเตอร์ในการหาเสียงแก่พรรคและผู้สมัครง
- จัดเวลาหรือเนื้อที่ในสื่อสารมวลชนให้พรรคและผู้สมัครโดยเท่าเทียมกัน
- ห้ามทำโพลล์ 2 สัปดาห์ก่อนวันลงคะแนน
--คณะกรรมาธิการประชาสัมพันธ์ สภาร่างรัฐธรรมนูญ--
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
- จำนวน 500 คนมาจากการเลือกตั้งแบบผสมเขตเดียวเบอร์เดียว 400 คน สัดส่วนปาร์ตี้ ลิส 100 คน
- ทำหน้าทีลงมติเสนอแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี ตั้งกระทู้ ถามและอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาล ควบคุม งบประมาณ พิจารณากฎหมายและมีส่วนร่วมในการแต่งตั้งและถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งการเมือง และเจ้าหน้าที่ของรัฐ
วุฒิสมาชิก
- มาจากการเลือกตั้งโดยตรง
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
- จำนวนวุฒิฯ 1 คนต่อประชากร 1 ล้านคน เศษที่เหลือ้าเกิน 5 แสนคนให้เพิ่มอีก 1 คน จังหวัดใด ต่ำกว่า 1 ล้านคน ให้มีได้ 1 คน
- อายุ 40 ปีขึ้นไป วุฒิการศึกษาไม่ต่ำกว่า ปริญญาตรีหรือเทียบเท่า
- ข้าราชการประจำต้องลาออกก่อนเป็นวุฒิสมาชิก
- ทำหน้าที่กลั่นกรองกฎหมายมีส่วนร่วมในการแต่งตั้งและถอดถอนผู้ดำรง ตำแหน่งการเมือง และเจ้าหน้าที่ของรัฐ
- มีอำนาจอภิปรายในปัญหาระดับชาติ โดยไม่มีการลงมติ
- เมื่อครบวาระ 6 ปีสามารถสมัครเป็นวุฒิสมาชิกได้อีก
คณะรัฐมนตรี
- อายุไม่ต่ำกว่า 35 ปี
- จำนวนไม่เกิน 50 คน
- ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีมีองค์ประกอบไม่เกิน 30 คน
- หากมาจากการเลือกตั้งปาร์ตี้ลิส ให้ลาออกจาก ส.ส.แล้วเลือกจากรายชื่อลำดับถัดไปมา เป็น ส.ส. แทน
- หากมาจากการเลือกตั้งเขตเดียวเบอร์เดียว ให้ลาออกจาก ส.ส.แล้วเลือกตั้งซ่อมในจัง หวัดนั้น
- อาจมาจากบุคคลภายนอก
นายกรัฐมนตรี
- อาจมาจากการเลือกตั้งแบบปาร์ตี้ลิสและแบบเขตเดียวเบอร์เดียว
- หรือมาจากการเลือกตั้งแบบปาร์ตี้ลิสเท่านั้น
- ต้องลาออกจาก ส.ส.แล้วเลือกตั้งซ่อม หรือให้ลำดับถัดไปเป็น ส.ส.แทนแล้วแต่กรณี
- ต้องได้รับการเห็นชอบเกินกึ่งหนึ่งของ ส.ส. ภายใน 30 วัน หรือต้องได้รับเสียงสนับ สนุนมากที่สุดในอีก 15 วันต่อมา มิฉะนั้นต้องยุบสภาเลือกตั้งใหม่
- ประธานรัฐสภาเป็นผู้ทูลเกล้าฯ เพื่อแต่งตั้ง
คณะกรรมการเลือกตั้ง
คณะกรรมการการเลือกตั้ง มีวาระ 9 ปี มีอำนาจหน้าที่
- กำหนดวันเลือกตั้ง
- จัดทำบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง
- แบ่งเขตเลือกตั้งล่วงหน้า
- บังคับบัญชาสั่งการเจ้าหน้าที่ในการดำเนินการเลือกตั้ง
- ตรวจสอบและวินิจฉัยเกี่ยวกับการเลือกตั้งพรรคการเมือง และการออกเสียงประชามติ
- วินิจฉัยการคัดค้านและการทุจริตการเลือกตั้ง โดยอาจอุทธรณ์ต่อศาลรัฐธรรมนูญหรือให้ผู้มี ความผิดพ้นจาก ส.ส.
มาตรการใหม่ในการเลือตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
1. ขยายการใช้สิทธิ์เลือกตั้ง
- ให้การเลือกตั้งเป็นหน้าที่พลเมือง และผู้ฝ่าฝืนถูกตัดสิทธิ์สมัครรับเลือกตั้งทุกระดับใน เวลาที่กำหนด
- รัฐอำนวยความสะดวกโดยการเพิ่มเขตเลือกตั้งหรือจัดพาหนะรับส่ง
- ให้ผู้อยู่นอกภูมิลำเนาสามารถใช้สิทธิ์เลือกตั้งเฉพาะในส่วนที่เป็นสัดส่วนปาร์ตี้ลิส
2. เปลี่ยนระบบเลือกตั้งเป็นระบบผสมแบบปารณ์ตี้ลิสและเขตเดียวเบอร์เดียว
3. กำหนดการเลือกตั้งให้เร็วขึ้น และจำกัดอำนาจผู้ดำรงตำแหน่งการเมือง
- ให้มีการเลือกตั้งหลังการยุบสภาหรือสภาหมดวาระภายใน 45 วัน
- ห้ามนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีรักษาการสั่งการในทางนโยบาย และโยกย้ายข้าราชการ โดยไม่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการเลือกตั้ง
4. คณะกรรมการเลือกตั้งที่เป็นอิสระดำเนินการเลือกตั้ง
5. รัฐจัดการหาเสียงบางประเภทให้พรรคและผู้สมัคร
- จัดพิมพ์และจัดที่ปิดโปสเตอร์ในการหาเสียงแก่พรรคและผู้สมัครง
- จัดเวลาหรือเนื้อที่ในสื่อสารมวลชนให้พรรคและผู้สมัครโดยเท่าเทียมกัน
- ห้ามทำโพลล์ 2 สัปดาห์ก่อนวันลงคะแนน
--คณะกรรมาธิการประชาสัมพันธ์ สภาร่างรัฐธรรมนูญ--