การใช้พลังงานขั้นสุดท้ายของประเทศไทยในปี 2553 มีปริมาณ 71,166 พันตันเทียบเท่า
น้ำมันดิบเพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ6.7 และคิดเป็นมูลค่าการใช้พลังงานรวม 1,294 พันล้านบาท โดยมีการใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ในสัดส่วนร้อยละ 81.1 ของการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายทั้งหมดส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 18.9 เป็นการใช้พลังงานหมุนเวียนการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายจำแนกตามชนิดพลังงาน 2553 ปริมาณอัตราการใช้พลังงาน(พันตันเทียบเท่า
น้ำมันดิบ)เปลี่ยนแปลงเชิงพาณิชย์มีปริมาณ 57,749(ร้อยละ)พันตันเทียบเท่า
น้ำมันดิบ เพิ่มขึ้น 2551 2552 2553 2552 2553 จากปีก่อนร้อยละ 6.5 ประกอบด้วยน้ำมันสำเร็จรูปมีการใช้ 32,997 พันตันเทียบเท่า
น้ำมันดิบเพิ่มขึ้นร้อยละ4.2 ไฟฟ้ามีการใช้ 12,737 พันตันเทียบเท่า
น้ำมันดิบเพิ่มขึ้นร้อยละ10.6 ถ่านหิน/ลิกไนต์ มีการใช้ 7,061 พันตันเทียบเท่าการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายจำแนกตามชนิดพลังงาน 2553
น้ำมันดิบลดลงร้อยละ5.8 และก๊าซธรรมชาติมีการใช้ 4,954 พันตันเทียบเท่า
น้ำมันดิบ เพิ่มขึ้นร้อยละน้ำมันสำเร็จรูป
46.4% 38.8สำหรับพลังงานหมุนเวียน(ฟืน ถ่าน แกลบ กากอ้อย วัสดุเหลือใช้ทางไฟฟ้า 17.9% การเกษตร ขยะและก๊าซชีวภาพ)ถ่านหิน/ ลิกไนต์ มีการใช้13,417 พันตันเทียบเท่า9.9%
น้ำมันดิบ เพิ่มขึ้นร้อยละ7.7 ก๊าซธรรมชาติ 7.0% อย่างไรก็ตาม น้ำมันพลังงานหมุนเวียน สำเร็จรูปยังคงมีการใช้ในสัดส่วน 18.8% ที่สูงกว่าพลังงานชนิดอื่นโดยมีการใช้พันตันร้อยละ 46.4ของการใช้พลังงาน เทียบเท่า
น้ำมันดิบขั้นสุดท้ายทั้งหมดซึ่งมีการใช้ไฟฟ้า ถ่านหิน/ลิกไนต์ ก๊าซธรรมชาติและพลังงานหมุนเวียนร้อยละ17.9 9.9 7.0และ18.8 ตามลำดับ การใช้พลังงานขั้นสุดท้ายจำแนกตามสาขาเศรษฐกิจ 2553 ส่วนการใช้พาลังงานขั้นสุดท้ายในแต่ละสาขาเศรษฐกิจพบว่าโดยรวมมีการใช้พลังงานเพิ่มขึ้นประกอบด้วย การใช้พลังงานในสาขาเกษตรกรรม 3,701 พันตันเทียบเท่า
น้ำมันดิบเพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 6.4 สาขาอุตสาหกรรม 25,871 พันตันเทียบเท่า
น้ำมันดิบ เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.5 สาขาบ้านอยู่อาศัย 11,01 3 พันตันเทียบเท่า
น้ำมันดิบ เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.2 สาขาธุรกิจการค้า 5,520 พันตันเทียบเท่า
น้ำมันดิบเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.7 และสาขาขนส่ง 25,061 พันตันเทียบเท่า
น้ำมันดิบเพิ่มขึ้นร้อยละ3 .8 ทั้งนี้ เป็นการใช้ในสาขาอุตสาหกรรมมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 36.4 รองลงมาเป็นการใช้ในสาขาขนส่ง สาขาบ้านอยู่อาศัย สาขาธุรกิจการค้า และสาขาเกษตรกรรมร้อยละ 35.2 15.5 7.7 และ5.2 ตามลำดับการผลิตพลังงานมีปริมาณ 71,429 พันตันเทียบเท่า
น้ำมันดิบ เพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ 10.1 โดยมีการผลิตพลังงานเชิงพาณิชย์ในสัดส่วนร้อยละ 68.8 ของการผลิตพลังงานทั้งหมดพลังงานหมุนเวียนและพลังงานอื่นๆ ร้อยละ31.2 การผลิตพลังงานเชิงพาณิชย์มีปริมาณ 49,148 พันตันเทียบเท่า
น้ำมันดิบเพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ11.0 ประกอบด้วย
น้ำมันดิบมีเการผลิต 7,655 พันตันทียบเท่า
น้ำมันดิบเพิ่มขึ้นร้อยละ0.9 ลิกไนต์มีการผลิต4,771 พันตันเทียบเท่า
น้ำมันดิบ ลดลงร้อยละ0.1 ก๊าซธรรมชาติมีการผลิต31,061 พันตันเทียบเท่า
น้ำมันดิบ เพิ่มขึ้นร้อยละ17.1 คอนเดนเสทมีการผลิต4,467 พันตันเทียบเท่า
น้ำมันดิบเพิ่มขึ้นนร้อยละ17.8 ส่วนไฟฟ้าพลังน้ำและอื่นๆมีการผลิต1,194 พันตันเทียบเท่า
น้ำมันดิบลดลงพันตันร้อยละ24.7 สำหรับพลังงานเทียบเท่า
น้ำมันดิบหมุนเวียนและพลังงานอื่นๆ(ฟืน แกลบ กากอ้อย วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร ขยะ ก๊าซชีวภาพ แบล็คลิเคอและก๊าซเหลือใช้จากขบวนการผลิต)มีการผลิต22,281 พันตันเทียบเท่า
น้ำมันดิบ เพิ่มขึ้นร้อยละ8.0 การนำเข้าพลังงานมีปริมาณ 64,017 พันตันเทียบเท่า
น้ำมันดิบ เพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ3.2 โดยมีการนำเข้าพลังงานเชิงพาณิชย์ ในสัดส่วนร้อยละ 99.9 ของการนำเข้าพลังงานทั้งหมด และพลังงานหมุนเวียน ร้อยละ 0.1 การนำเข้าพลังงาน เชิงพาณิชย์มีปริมาณ 63,958 พันตันเทียบเท่า
น้ำมันดิบ ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ3.2 ประกอบด้วย
น้ำมันดิบมีการนำเข้า 41,766 พันตันเทียบเท่า
น้ำมันดิบ เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.0 ถ่านหินมีการนำเข้า 10,628 พันตันเทียบเท่า
น้ำมันดิบเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.5 การนำเข้าน้ำมันสำเร็จรูป 161 พันตันเทียบเท่า
น้ำมันดิบลดลงร้อยละ 62.5 ก๊าซธรรมชาติ มีการนำเข้า 9,156 พันตันเทียบเท่า
น้ำมันดิบเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.4 คอนเดนเสทมีการนำเข้า 1,581 พันตันเทียบเท่า
น้ำมันดิบ เพิ่มขึ้นร้อยละ13.7 ไฟฟ้ามีการนำเข้า 666 พันตันเทียบเท่า
น้ำมันดิบเพิ่มขึ้นร้อยละ 220.2 สำหรับพลังงานหมุนเวียน(ฟืน และถ่าน)มีการนำเข้า59 พันตันเทียบเท่า
น้ำมันดิบ เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.3 การส่งออกพลังงาน มีปริมาณ 12,531 พันตันเทียบเท่า
น้ำมันดิบ ลดลงจากปีก่อนร้อยละ0.1 โดยเป็นการส่งออกพลังงานเชิงพาณิชย์ ในสัดส่วนร้อยละ99.6 ของการส่งออกพลังงานทั้งหมด และพลังงานหมุนเวียนการส่งออกพลังงาน ร้อยละ0.4 การส่งออกพลังงานเชิงพาณิชย์มีปริมาณ12,483 พันตันเทียบเท่า
น้ำมันดิบ ลดลงจากปีก่อนร้อยละ0.3 ประกอบด้วย น้ำมันสำเร็จรูปมีการส่งออก10,499 พันตันเทียบเท่า
น้ำมันดิบเพิ่มขึ้นร้อยละ3.5
น้ำมันดิบมีการส่งออก 1,760 พันตันเทียบเท่า
น้ำมันดิบลดลงร้อยละ 17.8 ไฟฟ้ามีการส่งออก 1 15 พันตันเทียบเท่าน้ามันดิบ ลดลงร้อยละ 13.5 ก๊าซโซลีนธรรมชาติมีการส่งออก 96 พันตันเทียบเท่า
น้ำมันดิบ เพิ่มขึ้นร้อยละ9.1 และถ่านหินมีการส่งออก13 พันตันเทียบเท่า
น้ำมันดิบลดลงร้อยละ27.7 สำหรับพลังงานหมุนเวียน(ถ่าน)และเชื้อเพลิงชีวภาพ(เอทานอล)มีการส่งออก48 พันตันเทียบเท่า
น้ำมันดิบเพิ่มขึ้นร้อยละ71.4
ปี 2553 ประเทศไทยมีโรงกลั่นน้ำมันรวม7โรงมีกำนลังการกลั่นรวมทั้งสิ้น 1,102,500 บาร์เรลต่อวันอกจากนี้ยังมีโรงแยกก๊าซธรรมชาติ 5 โรงมีขนาดรวม1,710 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน และโรงแยกก๊าซพลังเพชรซึ่งทำการผลิตก๊าซปิโตรเลียมเหลวเป็นหลักอีก 1 โรงมีขนาด 120 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน โดยพบว่าในปี 2553 มีการผลิตน้ำมันสำเร็จรูปซึ่งประกอบด้วย น้ำมันดีเซล ก๊าซปิโตรเลียมเหลว น้ำมันเบนซิน น้ำมันเตา น้ำมันเครื่องบินและน้ำมันก๊าดเป็นสัดส่วนร้อยละ 42.2 19 .0 15.8 11.0 0 10 .9 และ 1.1 ตามลำดับการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าในปี2553พบว่ามีการใช้เชื้อเพลิงจากก๊าซธรรมชาติร้อยละ 69.2 ของการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าทั้งหมด รองลงมาเป็นถ่านหิน/ลิกไนต์ร้อยละ 21.4 น้ำมันเตาและน้ำมันดีเซลร้อยละ 0.2 ส่วนที่เหลือเป็นพลังงานหมุนเวียน(แกลบ กากอ้อย วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร ขยะ ก๊าซชีวภาพ) พลังน้ำและอื่นๆ (พลังงานความร้อนใต้พิภพ แสงอาทิตย์ ลม)และพลังงานอื่นๆ(แบล็คลิเคอและก๊าซเหลือใช้จากขบวนการผลิต)คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ9.2 สถานการณ์การใช้พลังงานทดแทน:จากสถานการณ์ราคาน้ำมันดิบที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วทำให้ประเทศไทยต้องจัดหาพลังงานทดแทนเพื่อใช้ทดแทนน้ำมัน ซึ่งภาครัฐมีมาตรการและนโยบายที่สนับสนุนให้มีการใช้พลังงานทดแทนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะการใช้พลังงานทดแทนที่สามารถผลิตได้จากภายในประเทศ ประกอบด้วย พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังน้ำ ก๊าซชีวภาพ ขยะ เชื้อเพลิงชีวภาพ(เอทานอล และไบโอดีเซล) และก๊าซธรรมชาติสำหรับยานยนต์ โดยในปี 2553 พบว่าการใช้พลังงานทดแทนทั้งสิ้น 7,148 พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ เพิ่มขึ้นจากปีก่อนร้อยละ21.2 ทั้งนี้มีการใช้ในรูปของไฟฟ้า ความร้อน เชื้อเพลิงชีวภาพ (เอทานอล และไบโอดีเซล)และก๊าซธรรมชาติสำหรับยานยนต์ ในสัดส่วนร้อยละ 10.0 ของการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายทั้งหมดการใช้ไฟฟ้า และความร้อน ที่ผลิตได้จากพลังงานทดแทน (ประกอบด้วย พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานน้ำ ชีวมวล ก๊าซชีวภาพ และขยะ) มีปริมาณ 304 พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ และ 4,443 พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ ตามลำดับ ส่วนเชื้อเพลิงชีวภาพมีปริมาณการใช้ประกอบด้วย เอทานอล 329 พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ และไบโอดีเซล 475 พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ ในขณะที่มีการใช้ก๊าซธรรมชาติสำหรับยานยนต์ 1,597 พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ