แท็ก
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์
สำรวจพฤติกรรม
วันวิสาขบูชา
โรงแรมคอนราด
บัตรเครดิต
ศูนย์วิจัยร่วมกับสถาบันวิจัยสังคมและเศรษฐกิจ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สำรวจพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชนในกลุ่มอาชีพต่างๆ
ต่อการใช้บัตรเครดิต ระหว่างวันที่ 18-19 สิงหาคม 2545 ภายใต้โครงการ “ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์ โดยเลือกตัวอย่างจากประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปี
ขึ้นไปในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวนทั้งสิ้น 2,472 ตัวอย่าง
ผลการสำรวจชี้ให้เห็นว่าประชาชนร้อยละ 28 มีบัตรเครดิต และเมื่อคิดเฉลี่ยต่อคนจะมีบัตรเครดิตคนละเกือบ 2 ใบ (1.8 ใบ/คน) ใน
จำนวนนี้เป็นนิสิตนักศึกษาถึงร้อยละ 21 ในขณะเดียวกันหากพิจารณาเฉพาะกลุ่มนิสิตนักศึกษา ซึ่งถือว่าเป็นกลุ่มผู้บริโภคที่มีรายได้น้อยหรือยังไม่มีรายได้
เป็นของตนเอง พบว่าแต่ละคนจะมีบัตรเครดิตโดยเฉลี่ยคนละ 1.5 ใบ
เหตุผลที่กลุ่มตัวอย่างใช้กล่าวอ้างในการมีบัตรเครดิต คือความสะดวกในการจับจ่ายใช้สอย ซึ่งมีถึงร้อยละ 76 ในขณะที่ร้อยละ 10 ให้
เหตุผลว่าจะได้มีเงินใช้ในช่วงเวลาที่เงินขาดมือ
ในส่วนของความคิดเห็นที่มีต่อเงื่อนไขต่างๆ ของการใช้บัตรเครดิต มีเพียงร้อยละ 45 ที่เห็นว่าข้อกำหนดและกฎระเบียบของระบบบัตร
เครดิตเป็นธรรม อย่างไรก็ดียังมีประชาชน ร้อยละ 35 อยากให้ภาครัฐให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้บัตรเครดิตที่ถูกต้องแก่สังคม รองลงมาร้อยละ 23
ต้องการให้รัฐบาลหรือหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องให้ความรู้เกี่ยวกับผลกระทบทั้งทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดจากหนี้สินของการใช้บัตรเครดิต และ
ต้องการให้ดูแลผู้ใช้บัตรเครดิตที่ถูกเอารัดเอาเปรียบ
อีกหนึ่งประเด็นสำคัญที่ได้จากการสำรวจ ก็คือในกลุ่มประชาชนที่ยังไม่มีบัตรเครดิตมีถึงร้อยละ 52 ที่ต้องการจะมีบัตรเครดิตในอนาคตอันใกล้
ตารางที่ 1 ร้อยละของผู้ตอบเกี่ยวกับการมีบัตรเครดิต
การมีบัตรเครดิต ร้อยละ
มี 28.2
ไม่มี 71.8
รวม 100.0
ตารางที่ 2 ร้อยละของผู้ตอบที่มีบัตรเครดิตเกี่ยวกับจำนวนบัตรเครดิตที่มี
จำนวนบัตรเครดิต (ใบ) ร้อยละ
1 52.5
2 28.9
มากกว่า 2 18.6
รวม 100.0
ตารางที่ 3 ร้อยละของผู้ตอบที่มีบัตรเครดิตจำแนกตามอาชีพ
อาชีพ ร้อยละ
รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ 24.0
ลูกจ้างเอกชน 29.1
แม่บ้าน 1.2
ทำงานส่วนตัว 14.7
ช่วยธุรกิจครอบครัว 1.6
นักเรียน/นักศึกษา 20.5
นายจ้าง 6.9
ว่างงาน 1.9
รวม 100.0
ตารางที่ 4 ร้อยละของผู้ตอบจำแนกตามสาเหตุของการมีบัตรเครดิต
สาเหตุการมีบัตรเครดิต ร้อยละ
สะดวก ง่ายต่อการใช้จ่าย 75.6
ทำให้มีเงินใช้ยามเงินขาดมือ 9.5
ฟรีค่าธรรมเนียมแรกเข้า/ตลอดชีวิต 3.9
เพื่อนำไปใช้ในต่างประเทศ 2.1
เท๋ โก้เก๋ 0.2
ถูกรบเร้าให้ใช้บริการ 1.7
มีส่วนลดในการใช้ซื้อสินค้าหรือบริการ 1.4
อยากได้ของแถม 0.5
สามารถผ่อนชำระได้ 3.5
อื่นๆ 1.8
รวม 100.0
ตารางที่ 5 ร้อยละของผู้ตอบที่มีบัตรเครดิตจำแนกตามความคิดเห็นเกี่ยวกับความยุติธรรมของข้อกำหนดและเงื่อนไขของบัตรเครดิต
ความคิดเห็น ร้อยละ
ยุติธรรม 45.0
ไม่ยุติธรรม 18.7
ไม่แน่ใจ 36.3
รวม 100.0
ตารางที่ 6 ร้อยละของความคิดเห็นเกี่ยวของผู้ตอบที่มีบัตรเครดิตเกี่ยวกับ “ท่านอยากให้ภาครัฐทำอะไรเกี่ยวกับเรื่องบัตรเครดิต”
ความต้องการให้ภาครัฐทำเกี่ยวกับบัตรเครดิต ร้อยละ
ให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้บัตรเครดิตที่ถูกต้อง 34.4
ดูแลไม่ให้ผู้ใช้บัตรถูกเอารัดเอาเปรียบ 23.1
ให้ความรู้เกี่ยวกับผลกระทบที่เกิดจากหนี้ของการใช้บัตร 22.7
ควบคุมการใช้บัตรเครดิตของประชาชนให้อยู่ในขอบเขตที่สมควร 18.8
อื่นๆ 1.0
รวม 100.0
ตารางที่ 6 ร้อยละของผู้ตอบที่ไม่มีบัตรเครดิตเกี่ยวกับความคิดที่จะมีบัตรเครดิตในอนาคต
ความคิดที่จะมีบัตรเครดิตในอนาคต ร้อยละ
คิด 52.0
ไม่คิด 48.0
รวม 100.0
--ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์--
-พห-
ต่อการใช้บัตรเครดิต ระหว่างวันที่ 18-19 สิงหาคม 2545 ภายใต้โครงการ “ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์ โดยเลือกตัวอย่างจากประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปี
ขึ้นไปในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวนทั้งสิ้น 2,472 ตัวอย่าง
ผลการสำรวจชี้ให้เห็นว่าประชาชนร้อยละ 28 มีบัตรเครดิต และเมื่อคิดเฉลี่ยต่อคนจะมีบัตรเครดิตคนละเกือบ 2 ใบ (1.8 ใบ/คน) ใน
จำนวนนี้เป็นนิสิตนักศึกษาถึงร้อยละ 21 ในขณะเดียวกันหากพิจารณาเฉพาะกลุ่มนิสิตนักศึกษา ซึ่งถือว่าเป็นกลุ่มผู้บริโภคที่มีรายได้น้อยหรือยังไม่มีรายได้
เป็นของตนเอง พบว่าแต่ละคนจะมีบัตรเครดิตโดยเฉลี่ยคนละ 1.5 ใบ
เหตุผลที่กลุ่มตัวอย่างใช้กล่าวอ้างในการมีบัตรเครดิต คือความสะดวกในการจับจ่ายใช้สอย ซึ่งมีถึงร้อยละ 76 ในขณะที่ร้อยละ 10 ให้
เหตุผลว่าจะได้มีเงินใช้ในช่วงเวลาที่เงินขาดมือ
ในส่วนของความคิดเห็นที่มีต่อเงื่อนไขต่างๆ ของการใช้บัตรเครดิต มีเพียงร้อยละ 45 ที่เห็นว่าข้อกำหนดและกฎระเบียบของระบบบัตร
เครดิตเป็นธรรม อย่างไรก็ดียังมีประชาชน ร้อยละ 35 อยากให้ภาครัฐให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้บัตรเครดิตที่ถูกต้องแก่สังคม รองลงมาร้อยละ 23
ต้องการให้รัฐบาลหรือหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องให้ความรู้เกี่ยวกับผลกระทบทั้งทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดจากหนี้สินของการใช้บัตรเครดิต และ
ต้องการให้ดูแลผู้ใช้บัตรเครดิตที่ถูกเอารัดเอาเปรียบ
อีกหนึ่งประเด็นสำคัญที่ได้จากการสำรวจ ก็คือในกลุ่มประชาชนที่ยังไม่มีบัตรเครดิตมีถึงร้อยละ 52 ที่ต้องการจะมีบัตรเครดิตในอนาคตอันใกล้
ตารางที่ 1 ร้อยละของผู้ตอบเกี่ยวกับการมีบัตรเครดิต
การมีบัตรเครดิต ร้อยละ
มี 28.2
ไม่มี 71.8
รวม 100.0
ตารางที่ 2 ร้อยละของผู้ตอบที่มีบัตรเครดิตเกี่ยวกับจำนวนบัตรเครดิตที่มี
จำนวนบัตรเครดิต (ใบ) ร้อยละ
1 52.5
2 28.9
มากกว่า 2 18.6
รวม 100.0
ตารางที่ 3 ร้อยละของผู้ตอบที่มีบัตรเครดิตจำแนกตามอาชีพ
อาชีพ ร้อยละ
รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ 24.0
ลูกจ้างเอกชน 29.1
แม่บ้าน 1.2
ทำงานส่วนตัว 14.7
ช่วยธุรกิจครอบครัว 1.6
นักเรียน/นักศึกษา 20.5
นายจ้าง 6.9
ว่างงาน 1.9
รวม 100.0
ตารางที่ 4 ร้อยละของผู้ตอบจำแนกตามสาเหตุของการมีบัตรเครดิต
สาเหตุการมีบัตรเครดิต ร้อยละ
สะดวก ง่ายต่อการใช้จ่าย 75.6
ทำให้มีเงินใช้ยามเงินขาดมือ 9.5
ฟรีค่าธรรมเนียมแรกเข้า/ตลอดชีวิต 3.9
เพื่อนำไปใช้ในต่างประเทศ 2.1
เท๋ โก้เก๋ 0.2
ถูกรบเร้าให้ใช้บริการ 1.7
มีส่วนลดในการใช้ซื้อสินค้าหรือบริการ 1.4
อยากได้ของแถม 0.5
สามารถผ่อนชำระได้ 3.5
อื่นๆ 1.8
รวม 100.0
ตารางที่ 5 ร้อยละของผู้ตอบที่มีบัตรเครดิตจำแนกตามความคิดเห็นเกี่ยวกับความยุติธรรมของข้อกำหนดและเงื่อนไขของบัตรเครดิต
ความคิดเห็น ร้อยละ
ยุติธรรม 45.0
ไม่ยุติธรรม 18.7
ไม่แน่ใจ 36.3
รวม 100.0
ตารางที่ 6 ร้อยละของความคิดเห็นเกี่ยวของผู้ตอบที่มีบัตรเครดิตเกี่ยวกับ “ท่านอยากให้ภาครัฐทำอะไรเกี่ยวกับเรื่องบัตรเครดิต”
ความต้องการให้ภาครัฐทำเกี่ยวกับบัตรเครดิต ร้อยละ
ให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้บัตรเครดิตที่ถูกต้อง 34.4
ดูแลไม่ให้ผู้ใช้บัตรถูกเอารัดเอาเปรียบ 23.1
ให้ความรู้เกี่ยวกับผลกระทบที่เกิดจากหนี้ของการใช้บัตร 22.7
ควบคุมการใช้บัตรเครดิตของประชาชนให้อยู่ในขอบเขตที่สมควร 18.8
อื่นๆ 1.0
รวม 100.0
ตารางที่ 6 ร้อยละของผู้ตอบที่ไม่มีบัตรเครดิตเกี่ยวกับความคิดที่จะมีบัตรเครดิตในอนาคต
ความคิดที่จะมีบัตรเครดิตในอนาคต ร้อยละ
คิด 52.0
ไม่คิด 48.0
รวม 100.0
--ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์--
-พห-