แท็ก
มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์
มหาวิทยาลัยบูรพา
โรงแรมคอนราด
โชห่วย
ศูนย์วิจัย มหาวิทยาลันธุรกิจบัณฑิตย์ ได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 1,051 ราย
เรื่อง ความอยู่รอดของร้านโชห่วย และความเห็นเกี่ยวกับมาตรการที่จะช่วยให้ร้านโชห่วยอยู่รอด พบว่า
ผู้ที่เคยซื้อสินค้าจากร้านโชห่วยทุกกลุ่มอายุ อาชีพ และระดับการศึกษา ปัจจุบันยังซื้ออยู่ถึงร้อยละ 70
ผู้บริโภคที่ซื้อจากร้านโชห่วยซื้อสินค้าอาทิตย์ละ 1-5 ครั้ง
สาเหตุที่ผู้บริโภคไม่ซื้อสินค้าจากร้านโชห่วยเพราะไม่มีสินค้าที่ต้องการ นอกจากนี้คุณภาพของสินค้าที่จำหน่าย ยังไม่ได้มาตรฐานและมีราคา
สูงกว่าร้านค้าปลีกอื่นๆ
สาเหตุสำคัญที่ผู้บริโภคซื้อสินค้าจากร้านโชห่วยเพราะอยู่ใกล้บ้านและสามารถแบ่งซื้อสินค้าที่ต้องการเป็นจำนวนน้อยๆ ได้ เช่น บุหรี่ สุรา
ผักและผลไม้
ถ้าเป็นสินค้าอุปโภคบริโภคชนิดเดียวกันกับที่ขายในร้านค้าปลีกหลายประเภท ผู้บริโภคที่นิยมซื้อสินค้าจากร้านโชห่วย ร้านสะดวกซื้อ ร้านค้า
ปลีกขนาดใหญ่ ซูเปอร์มาร์เก็ต เมื่อจำแนกตามอายุ เป็นดังนี้
อายุ(ปี) ประเภทของร้านค้าที่นิยมซื้อ
ร้านโชห่วย ร้านสะดวกซื้อ ร้านค้าปลีกขนาดใหญ่ ซูเปอร์มาร์เก็ต อื่นๆ
20-24 7.1 41.2 35.3 16.0 0.4
25-29 10.1 31.4 38.3 17.3 2.9
30-39 6.8 32.6 43.7 14.2 2.7
40 ปีขึ้นไป 13.0 23.6 42.7 18.7 2.0
รวม 9.27 30.95 41.20 16.31
มาตราการที่จะช่วยให้ร้านโชห่วยอยู่รอดตามความเห็นของผู้บริโภคเมื่อเรียงตามลำดับความสำคัญ ได้แก่ ต้องให้ร้านค้าปลีกขนาดใหญ่ตั้ง
อยู่นอกเมือง ร้านค้าปลีกขนาดใหญ่ต้องกำหนดเวลาขายไม่เกิน 24.00 น. ต้องออกมีกฎหมายควบคุมร้านค้าปลีกให้แข่งขันกับร้านโชห่วยได้ยากขึ้น ต้อง
ห้ามธุรกิจค้าปลีกต่างชาติเข้ามาตั้งในประเทศไทย และต้องห้ามร้านค้าปลีกต่างชาติเปิดเพิ่มขึ้นจากที่มีอยู่เดิม
--ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์--
-พห-
เรื่อง ความอยู่รอดของร้านโชห่วย และความเห็นเกี่ยวกับมาตรการที่จะช่วยให้ร้านโชห่วยอยู่รอด พบว่า
ผู้ที่เคยซื้อสินค้าจากร้านโชห่วยทุกกลุ่มอายุ อาชีพ และระดับการศึกษา ปัจจุบันยังซื้ออยู่ถึงร้อยละ 70
ผู้บริโภคที่ซื้อจากร้านโชห่วยซื้อสินค้าอาทิตย์ละ 1-5 ครั้ง
สาเหตุที่ผู้บริโภคไม่ซื้อสินค้าจากร้านโชห่วยเพราะไม่มีสินค้าที่ต้องการ นอกจากนี้คุณภาพของสินค้าที่จำหน่าย ยังไม่ได้มาตรฐานและมีราคา
สูงกว่าร้านค้าปลีกอื่นๆ
สาเหตุสำคัญที่ผู้บริโภคซื้อสินค้าจากร้านโชห่วยเพราะอยู่ใกล้บ้านและสามารถแบ่งซื้อสินค้าที่ต้องการเป็นจำนวนน้อยๆ ได้ เช่น บุหรี่ สุรา
ผักและผลไม้
ถ้าเป็นสินค้าอุปโภคบริโภคชนิดเดียวกันกับที่ขายในร้านค้าปลีกหลายประเภท ผู้บริโภคที่นิยมซื้อสินค้าจากร้านโชห่วย ร้านสะดวกซื้อ ร้านค้า
ปลีกขนาดใหญ่ ซูเปอร์มาร์เก็ต เมื่อจำแนกตามอายุ เป็นดังนี้
อายุ(ปี) ประเภทของร้านค้าที่นิยมซื้อ
ร้านโชห่วย ร้านสะดวกซื้อ ร้านค้าปลีกขนาดใหญ่ ซูเปอร์มาร์เก็ต อื่นๆ
20-24 7.1 41.2 35.3 16.0 0.4
25-29 10.1 31.4 38.3 17.3 2.9
30-39 6.8 32.6 43.7 14.2 2.7
40 ปีขึ้นไป 13.0 23.6 42.7 18.7 2.0
รวม 9.27 30.95 41.20 16.31
มาตราการที่จะช่วยให้ร้านโชห่วยอยู่รอดตามความเห็นของผู้บริโภคเมื่อเรียงตามลำดับความสำคัญ ได้แก่ ต้องให้ร้านค้าปลีกขนาดใหญ่ตั้ง
อยู่นอกเมือง ร้านค้าปลีกขนาดใหญ่ต้องกำหนดเวลาขายไม่เกิน 24.00 น. ต้องออกมีกฎหมายควบคุมร้านค้าปลีกให้แข่งขันกับร้านโชห่วยได้ยากขึ้น ต้อง
ห้ามธุรกิจค้าปลีกต่างชาติเข้ามาตั้งในประเทศไทย และต้องห้ามร้านค้าปลีกต่างชาติเปิดเพิ่มขึ้นจากที่มีอยู่เดิม
--ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์--
-พห-