กระแสความนิยมนายกรัฐมนตรีเริ่มลดลงอยู่ในระดับปานกลาง ภายหลังศาลรัฐธรรมนูญไม่รับวินิจฉัยคำร้องของสมาชิกวุฒิสภาเกี่ยวกับคุณสมบัติของนายกรัฐมนตรี และกังวลใจระดับปานกลางว่าจะเกิดความรุนแรง
ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์ ศูนย์วิจัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ทำการสำรวจความคิดเห็นของชาวกรุงเทพในหัวข้อ "ผลกระทบภายหลังศาลรัฐธรรมนูญไม่รับวินิจฉัยคุณสมบัติของนายกรัฐมนตรีที่เสนอโดยวุฒิสภาและการเข้าร่วมประท้วงโดยกลุ่ม พล.ต.จำลอง โดยสอบถามชาวกรุงเทพฯ ทุกอาชีพ เพศ ระดับการศึกษา ที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป จำนวน 1,336 คน เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2549 ซึ่งผลการสำรวจสรุปได้ดังนี้
1. ความน่าเชื่อถือของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ พบว่าร้อยละ 44.5 เห็นว่ามีความน่าเชื่อถือปานกลาง ร้อยละ 27.9 มีความน่าเชื่อถือมาก ร้อยละ 18.6 มีความน่าเชื่อถือน้อยและร้อยละ 9.0 ไม่แน่ใจ
2. ความน่าเชื่อถือของสมาชิกวุฒิสภา พบว่าร้อยละ 46.8 มีความน่าเชื่อถือปานกลาง ร้อยละ 26.6 มีความน่าเชื่อถือน้อย ร้อยละ 18.9 มีความน่าเชื่อถือมาก และร้อยละ 7.7 ไม่แน่ใจ
3. ความนิยมในตัวนายกรัฐมนตรี พบว่าร้อยละ 41.0 มีความนิยมระดับปานกลาง ร้อยละ 27.5 มีความนิยมมาก ร้อยละ 26.9 มีความนิยมน้อย และร้อยละ 4.6 ไม่แน่ใจ
4. ภาพลักษณ์ของนายกรัฐมนตรี พบว่าร้อยละ 39.3 คิดว่าส่งผลกระทบในระดับปานกลาง ร้อยละ 29.7 ส่องผลกระทบน้อย ร้อยละ 26.5 ส่งผลกระทบมาก และร้อยละ 4.5 ไม่แน่ใจ
5. จำนวนผู้มาประท้วงของกลุ่มพลังต่างๆ ในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2549 ร้อยละ 52.3 คิดว่าจะมีมาก ร้อยละ 33.5 มาปานกลาง ร้อยละ 7.9 มาน้อย และร้อยละ 6.3 ไม่แน่ใจ
6. จำนวนผู้มาลงชื่อถอดถอนนายกรัฐมนตรีที่องค์กรต่างๆ จัดขึ้น ร้อยละ 41.9 คิดว่าจะมีมาก ร้อยละ 41.8 จะมีปานกลาง ร้อยละ 10.0 มีน้อย และร้อยละ 6.3 ไม่แน่ใจ
7. กระแสการเรียกร้องจากนักวิชาการมหาวิทยาลัยให้นายกรัฐมนตรีลาออก ร้อยละ 43.3 คิดว่าจะมีมาก ร้อยละ 39.2 มีปานกลาง ร้อยละ 12.6 มีน้อย และร้อยละ 4.9 ไม่แน่ใจ
8. ความกังวลใจว่าจะเกิดความรุนแรงในการประท้วงวันที่ 26 ก.พ. 49 ร้อยละ 37.0 มีความกังวลใจระดับปานกลาง ร้อยละ 32.8 กังวลใจมาก ร้อยละ 17.7 กังวลใจน้อย และร้อยละ 12.5 ไม่แน่ใจ
--ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์--
-พห-
ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์ ศูนย์วิจัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ทำการสำรวจความคิดเห็นของชาวกรุงเทพในหัวข้อ "ผลกระทบภายหลังศาลรัฐธรรมนูญไม่รับวินิจฉัยคุณสมบัติของนายกรัฐมนตรีที่เสนอโดยวุฒิสภาและการเข้าร่วมประท้วงโดยกลุ่ม พล.ต.จำลอง โดยสอบถามชาวกรุงเทพฯ ทุกอาชีพ เพศ ระดับการศึกษา ที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไป จำนวน 1,336 คน เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2549 ซึ่งผลการสำรวจสรุปได้ดังนี้
1. ความน่าเชื่อถือของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ พบว่าร้อยละ 44.5 เห็นว่ามีความน่าเชื่อถือปานกลาง ร้อยละ 27.9 มีความน่าเชื่อถือมาก ร้อยละ 18.6 มีความน่าเชื่อถือน้อยและร้อยละ 9.0 ไม่แน่ใจ
2. ความน่าเชื่อถือของสมาชิกวุฒิสภา พบว่าร้อยละ 46.8 มีความน่าเชื่อถือปานกลาง ร้อยละ 26.6 มีความน่าเชื่อถือน้อย ร้อยละ 18.9 มีความน่าเชื่อถือมาก และร้อยละ 7.7 ไม่แน่ใจ
3. ความนิยมในตัวนายกรัฐมนตรี พบว่าร้อยละ 41.0 มีความนิยมระดับปานกลาง ร้อยละ 27.5 มีความนิยมมาก ร้อยละ 26.9 มีความนิยมน้อย และร้อยละ 4.6 ไม่แน่ใจ
4. ภาพลักษณ์ของนายกรัฐมนตรี พบว่าร้อยละ 39.3 คิดว่าส่งผลกระทบในระดับปานกลาง ร้อยละ 29.7 ส่องผลกระทบน้อย ร้อยละ 26.5 ส่งผลกระทบมาก และร้อยละ 4.5 ไม่แน่ใจ
5. จำนวนผู้มาประท้วงของกลุ่มพลังต่างๆ ในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2549 ร้อยละ 52.3 คิดว่าจะมีมาก ร้อยละ 33.5 มาปานกลาง ร้อยละ 7.9 มาน้อย และร้อยละ 6.3 ไม่แน่ใจ
6. จำนวนผู้มาลงชื่อถอดถอนนายกรัฐมนตรีที่องค์กรต่างๆ จัดขึ้น ร้อยละ 41.9 คิดว่าจะมีมาก ร้อยละ 41.8 จะมีปานกลาง ร้อยละ 10.0 มีน้อย และร้อยละ 6.3 ไม่แน่ใจ
7. กระแสการเรียกร้องจากนักวิชาการมหาวิทยาลัยให้นายกรัฐมนตรีลาออก ร้อยละ 43.3 คิดว่าจะมีมาก ร้อยละ 39.2 มีปานกลาง ร้อยละ 12.6 มีน้อย และร้อยละ 4.9 ไม่แน่ใจ
8. ความกังวลใจว่าจะเกิดความรุนแรงในการประท้วงวันที่ 26 ก.พ. 49 ร้อยละ 37.0 มีความกังวลใจระดับปานกลาง ร้อยละ 32.8 กังวลใจมาก ร้อยละ 17.7 กังวลใจน้อย และร้อยละ 12.5 ไม่แน่ใจ
--ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์--
-พห-