ศูนย์วิจัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ได้สำรวจความคิดเห็นของประชาชนในกลุ่มอาชีพต่างๆ ของกรุงเทพมหานครจำนวนทั้งสิ้น 825 ราย
เกี่ยวกับการสูบบุหรี่ เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2545 ภายใต้โครงการ “ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์”
พบว่าร้อยละ 23 สูบบุหรี่ ในจำนวนนี้ประมาณครึ่งหนึ่งคือ ร้อยละ 54 สูบบุหรี่มาแล้วมากกว่า 5 ปี อายุเฉลี่ยที่สูบบุหรี่คือ 19 ปี สาเหตุ
ของการสูบบุหรี่ส่วนใหญ่เกิดมาจากความต้องการลดความเครียด (ร้อยละ 34) และอยากลอง (ร้อยละ 26) บุหรี่ในประเทศซึ่งเป็นที่นิยมของผู้สูบถึง
ร้อยละ 58 คือ
กรองทิพย์ รองลงมาคือสายฝน ส่วนบุหรี่ต่างประเทศที่นิยมสูบมากพอๆ กัน คือ Marlboro และ L&M
เมื่อสอบถามว่าผู้สูบบุหรี่เคยคิดที่จะเลิกสูบหรือไม่ พบว่าร้อยละ 78 เคยคิดที่จะเลิกสูบ อิทธิพลสำคัญที่ทำให้ผู้สูบบุหรี่ถึงร้อยละ 46 เห็นว่า
จะทำให้เลิกบุหรี่ได้ คือ ครอบครัวและบุคคลใกล้ชิด รองลงมาคือปัญหาสุขภาพของผู้สูบไม่เอื้ออำนวย (ร้อยละ 40) ในเรื่องการไม่สามารถเลิกสูบบุหรี่
ได้ผู้สูบ ร้อยละ 38 ระบุว่าการสูบบุหรี่ช่วยระบายความเครียดได้ ร้อยละ 34 ที่ไม่สามารถบังคับตัวเองให้เลิกสูบได้
สำหรับข้อความเตือนข้างซองบุหรี่ที่ว่า “บุหรี่ก่อให้เกิดมะเร็ง” ชาวกรุงเทพฯร้อยละ 52 คิดว่ามีผลทำให้สูบบุหรี่น้อยลง ส่วนอีกร้อยละ
34 ไม่คิดว่าจะมีผล ในด้านความเชื่อจากสื่อโฆษณาเกี่ยวกับผลเสียต่อสุขภาพจากการสูบบุหรี่ พบว่าผู้สูบบุหรี่ร้อยละ 81 เชื่อในข้อเท็จจริงดังกล่าว
ส่วนคำเตือนที่ว่า “ บุหรี่ทำให้สมรรถภาพทางเพศลดลง” จะมีผลทำให้สูบบุหรี่น้อยลงหรือไม่นั้น มีผู้สูบที่เห็นว่ามีผลและไม่มีผลมีจำนวนใกล้
เคียงกัน คือประมาณร้อยละ 40
ในเรื่องความคิดเห็นเกี่ยวกับการสูบบุหรี่ของผู้หญิง คนกรุงเทพฯร้อยละ 80 มองผู้หญิงที่สูบบุหรี่ไปในทางเสียหาย มีเพียงร้อยละ 1 ของ
ชาวกรุงเทพฯ เท่านั้นที่มองผู้หญิงสูบบุหรี่ว่าเป็นผู้หญิงที่เก่งและทันสมัย
ผลการวิเคราะห์เบื้องต้นเรื่องความคิดเห็นเกี่ยวกับการสูบบุหรี่
ตารางที่ 1 ร้อยละของตัวอย่างชาวกรุงเพทฯ จำแนกตามการสูบบุหรี่
การสูบบุหรี่ ร้อยละ
สูบ 22.7
ไม่สูบ 77.3
ตารางที่ 2 ร้อยละของตัวอย่างชาวกรุงเทพฯ จำแนกตามระยะเวลาที่สูบบุหรี่
ระยะเวลาที่สูบบุหรี่ (ปี) ร้อยละ
0-1 8.6
2-3 19.5
4-5 17.8
5 ปีขึ้นไป 54.1
ตารางที่ 3 ร้อยละของชาวกรุงเทพฯ จำแนกตามอายุที่เริ่มสูบบุหรี่
อายุที่เริ่มสูบบุหรี่(ปี) ร้อยละ
12-14 5.4
15-19 54.8
20-24 30.8
25-29 7.2
30 ปีขึ้นไป 1.8
ตารางที่ 4 ร้อยละของชาวกรุงเทพฯ จำแนกตามสาเหตุในการสูบบุหรี่
สาเหตุในการสูบบุหรี่ ร้อยละ
ลดความเครียด / วิตกกังวล 33.8
อยากลอง 25.6
การเข้าสังคม 16.7
เพื่อนชักชวน 12.5
ทันสมัย โก้เก๋ แฟชั่น 4.3
เลียนแบบบุคคลใกล้ชิด 3.2
เลียนแบบคนมีชื่อเสียง 0.7
อื่นๆ 3.2
ตารางที่ 5 ร้อยละของชาวกรุงเทพฯ จำแนกตามประเทศซึ่งผลิตบุหรี่ที่สูบเป็นประจำ
ประเทศที่ผลิต ร้อยละ
ประเทศไทย 58.1
ต่างประเทศ 41.9
ตารางที่ 5.1 ร้อยละของชาวกรุงเทพฯ ที่สูบบุหรี่ในประเทศจำแนกตามยี่ห้อที่นิยมสูบ
ยี่ห้อ ร้อยละ
กรองทิพย์ 69.1
สายฝน 23.7
กรุงทอง 4.1
สามมิตร 2.1
ROYAL 1.0
ตารางที่ 5.2 ร้อยละของชาวกรุงเทพฯ จำแนกตามยี่ห้อที่นิยมสูบ
ยี่ห้อ ร้อยละ
Marlboro 44.0
L&M 44.0
JPS 2.7
Mildseven 2.7
LUCKY M 1.3
MORE 1.3
Winston 1.3
Salem 1.3
ดาร์คอฟ 1.3
ตารางที่ 6 ร้อยละของชาวกรุงเทพฯที่สูบบุหรี่จำแนกตามความคิดเกี่ยวกับการที่จะเลิกสูบบุหรี่
การที่เคยจะเลิกสูบบุหรี่ ร้อยละ
เคย 77.7
ไม่เคย 22.3
ตารางที่ 7 ร้อยละของชาวกรุงเทพฯ ที่สูบบุหรี่ จำแนกตามสาเหตุสำคัญที่อาจทำให้สามารถเลิกสูบบุหรี่ได้
สาเหตุที่อาจทำให้เลิกสูบบุหรี่ได้ ร้อยละ
ครอบครัว / บุคคลใกล้ชิด 45.7
สุขภาพไม่เอื้ออำนวย 39.4
การถูกจำกัดบริเวณสูบบุหรี่ในที่สาธารณะ 4.1
ผลจากสื่อการรณรงค์เลิกสูบบุหรี่ 3.7
การต่อต้านจากสังคม 3.7
ข้อจำกัดในหน้าที่การงาน 2.2
สภาพเศรษฐกิจ 1.1
ตารางที่ 8 ร้อยละของชาวกรุงเทพฯ ที่สูบบุหรี่จำแนกตามสาเหตุที่ทำให้ไม่สามารถเลิกสูบบุหรี่ได้
สาเหตุที่ไม่สามารถเลิกสูบบุหรี่ ร้อยละ
ช่วยระบายความเครียด 37.9
ไม่สามารถบังคับตัวเองให้เลิกได้ 34.4
มีความสุขจากการสูบบุหรี่ 13.7
ไม่มีความจำเป็นที่จะต้องเลิก 4.0
ต้องการทันสมัย โก้เก๋ 2.6
อื่นๆ 7.5
ตารางที่ 9 ร้อยละของชาวกรุงเทพฯ จำแนกตามความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อความเตือนข้างซองบุหรี่ที่ว่า “บุหรี่ก่อให้เกิดมะเร็ง
จะมีผลทำให้การสูบบุหรี่น้อยลง”
การมีผลทำให้สูบบุหรี่น้อยลง ร้อยละ
มี 51.9
ไม่มี 33.9
ไม่แน่ใจ 14.2
ตารางที่ 10 ร้อยละของชาวกรุงเทพฯ จำแนกตามความเชื่อในสื่อโฆษณาที่ว่าการสูบบุหรี่มีผลเสียต่อสุขภาพ
ความเชื่อในสื่อโฆษณา ร้อยละ
เชื่อ 81.0
ไม่เชื่อ 5.4
ตอบไม่ได้ 13.6
ตารางที่ 11 ร้อยละของชาวกรุงเทพฯ จำแนกตามความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องข้อความเตือนข้างซองบุหรี่ว่า “บุหรี่ทำให้สมรรถภาพ
ทางเพศของผู้สูบเสื่อมลง”
ความคิดเห็น ร้อยละ
เห็นด้วย 40.3
ไม่เห็นด้วย 40.9
ไม่แน่ใจ 18.8
ตารางที่ 13 ร้อยละของชาวกรุงเทพฯ จำแนกตามความคิดเห็นเรื่องการสูบบุหรี่ของผู้หญิง
ความคิดเห็นเกี่ยวกับการสูบบุหรี่ของผู้หญิง ร้อยละ
รู้สึกเฉยๆ 19.4
มองไปในทางเสียหาย 79.8
มองว่าเป็นผู้หญิงเก่ง ทันสมัย 0.8
--ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์--
-พห-
เกี่ยวกับการสูบบุหรี่ เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2545 ภายใต้โครงการ “ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์”
พบว่าร้อยละ 23 สูบบุหรี่ ในจำนวนนี้ประมาณครึ่งหนึ่งคือ ร้อยละ 54 สูบบุหรี่มาแล้วมากกว่า 5 ปี อายุเฉลี่ยที่สูบบุหรี่คือ 19 ปี สาเหตุ
ของการสูบบุหรี่ส่วนใหญ่เกิดมาจากความต้องการลดความเครียด (ร้อยละ 34) และอยากลอง (ร้อยละ 26) บุหรี่ในประเทศซึ่งเป็นที่นิยมของผู้สูบถึง
ร้อยละ 58 คือ
กรองทิพย์ รองลงมาคือสายฝน ส่วนบุหรี่ต่างประเทศที่นิยมสูบมากพอๆ กัน คือ Marlboro และ L&M
เมื่อสอบถามว่าผู้สูบบุหรี่เคยคิดที่จะเลิกสูบหรือไม่ พบว่าร้อยละ 78 เคยคิดที่จะเลิกสูบ อิทธิพลสำคัญที่ทำให้ผู้สูบบุหรี่ถึงร้อยละ 46 เห็นว่า
จะทำให้เลิกบุหรี่ได้ คือ ครอบครัวและบุคคลใกล้ชิด รองลงมาคือปัญหาสุขภาพของผู้สูบไม่เอื้ออำนวย (ร้อยละ 40) ในเรื่องการไม่สามารถเลิกสูบบุหรี่
ได้ผู้สูบ ร้อยละ 38 ระบุว่าการสูบบุหรี่ช่วยระบายความเครียดได้ ร้อยละ 34 ที่ไม่สามารถบังคับตัวเองให้เลิกสูบได้
สำหรับข้อความเตือนข้างซองบุหรี่ที่ว่า “บุหรี่ก่อให้เกิดมะเร็ง” ชาวกรุงเทพฯร้อยละ 52 คิดว่ามีผลทำให้สูบบุหรี่น้อยลง ส่วนอีกร้อยละ
34 ไม่คิดว่าจะมีผล ในด้านความเชื่อจากสื่อโฆษณาเกี่ยวกับผลเสียต่อสุขภาพจากการสูบบุหรี่ พบว่าผู้สูบบุหรี่ร้อยละ 81 เชื่อในข้อเท็จจริงดังกล่าว
ส่วนคำเตือนที่ว่า “ บุหรี่ทำให้สมรรถภาพทางเพศลดลง” จะมีผลทำให้สูบบุหรี่น้อยลงหรือไม่นั้น มีผู้สูบที่เห็นว่ามีผลและไม่มีผลมีจำนวนใกล้
เคียงกัน คือประมาณร้อยละ 40
ในเรื่องความคิดเห็นเกี่ยวกับการสูบบุหรี่ของผู้หญิง คนกรุงเทพฯร้อยละ 80 มองผู้หญิงที่สูบบุหรี่ไปในทางเสียหาย มีเพียงร้อยละ 1 ของ
ชาวกรุงเทพฯ เท่านั้นที่มองผู้หญิงสูบบุหรี่ว่าเป็นผู้หญิงที่เก่งและทันสมัย
ผลการวิเคราะห์เบื้องต้นเรื่องความคิดเห็นเกี่ยวกับการสูบบุหรี่
ตารางที่ 1 ร้อยละของตัวอย่างชาวกรุงเพทฯ จำแนกตามการสูบบุหรี่
การสูบบุหรี่ ร้อยละ
สูบ 22.7
ไม่สูบ 77.3
ตารางที่ 2 ร้อยละของตัวอย่างชาวกรุงเทพฯ จำแนกตามระยะเวลาที่สูบบุหรี่
ระยะเวลาที่สูบบุหรี่ (ปี) ร้อยละ
0-1 8.6
2-3 19.5
4-5 17.8
5 ปีขึ้นไป 54.1
ตารางที่ 3 ร้อยละของชาวกรุงเทพฯ จำแนกตามอายุที่เริ่มสูบบุหรี่
อายุที่เริ่มสูบบุหรี่(ปี) ร้อยละ
12-14 5.4
15-19 54.8
20-24 30.8
25-29 7.2
30 ปีขึ้นไป 1.8
ตารางที่ 4 ร้อยละของชาวกรุงเทพฯ จำแนกตามสาเหตุในการสูบบุหรี่
สาเหตุในการสูบบุหรี่ ร้อยละ
ลดความเครียด / วิตกกังวล 33.8
อยากลอง 25.6
การเข้าสังคม 16.7
เพื่อนชักชวน 12.5
ทันสมัย โก้เก๋ แฟชั่น 4.3
เลียนแบบบุคคลใกล้ชิด 3.2
เลียนแบบคนมีชื่อเสียง 0.7
อื่นๆ 3.2
ตารางที่ 5 ร้อยละของชาวกรุงเทพฯ จำแนกตามประเทศซึ่งผลิตบุหรี่ที่สูบเป็นประจำ
ประเทศที่ผลิต ร้อยละ
ประเทศไทย 58.1
ต่างประเทศ 41.9
ตารางที่ 5.1 ร้อยละของชาวกรุงเทพฯ ที่สูบบุหรี่ในประเทศจำแนกตามยี่ห้อที่นิยมสูบ
ยี่ห้อ ร้อยละ
กรองทิพย์ 69.1
สายฝน 23.7
กรุงทอง 4.1
สามมิตร 2.1
ROYAL 1.0
ตารางที่ 5.2 ร้อยละของชาวกรุงเทพฯ จำแนกตามยี่ห้อที่นิยมสูบ
ยี่ห้อ ร้อยละ
Marlboro 44.0
L&M 44.0
JPS 2.7
Mildseven 2.7
LUCKY M 1.3
MORE 1.3
Winston 1.3
Salem 1.3
ดาร์คอฟ 1.3
ตารางที่ 6 ร้อยละของชาวกรุงเทพฯที่สูบบุหรี่จำแนกตามความคิดเกี่ยวกับการที่จะเลิกสูบบุหรี่
การที่เคยจะเลิกสูบบุหรี่ ร้อยละ
เคย 77.7
ไม่เคย 22.3
ตารางที่ 7 ร้อยละของชาวกรุงเทพฯ ที่สูบบุหรี่ จำแนกตามสาเหตุสำคัญที่อาจทำให้สามารถเลิกสูบบุหรี่ได้
สาเหตุที่อาจทำให้เลิกสูบบุหรี่ได้ ร้อยละ
ครอบครัว / บุคคลใกล้ชิด 45.7
สุขภาพไม่เอื้ออำนวย 39.4
การถูกจำกัดบริเวณสูบบุหรี่ในที่สาธารณะ 4.1
ผลจากสื่อการรณรงค์เลิกสูบบุหรี่ 3.7
การต่อต้านจากสังคม 3.7
ข้อจำกัดในหน้าที่การงาน 2.2
สภาพเศรษฐกิจ 1.1
ตารางที่ 8 ร้อยละของชาวกรุงเทพฯ ที่สูบบุหรี่จำแนกตามสาเหตุที่ทำให้ไม่สามารถเลิกสูบบุหรี่ได้
สาเหตุที่ไม่สามารถเลิกสูบบุหรี่ ร้อยละ
ช่วยระบายความเครียด 37.9
ไม่สามารถบังคับตัวเองให้เลิกได้ 34.4
มีความสุขจากการสูบบุหรี่ 13.7
ไม่มีความจำเป็นที่จะต้องเลิก 4.0
ต้องการทันสมัย โก้เก๋ 2.6
อื่นๆ 7.5
ตารางที่ 9 ร้อยละของชาวกรุงเทพฯ จำแนกตามความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อความเตือนข้างซองบุหรี่ที่ว่า “บุหรี่ก่อให้เกิดมะเร็ง
จะมีผลทำให้การสูบบุหรี่น้อยลง”
การมีผลทำให้สูบบุหรี่น้อยลง ร้อยละ
มี 51.9
ไม่มี 33.9
ไม่แน่ใจ 14.2
ตารางที่ 10 ร้อยละของชาวกรุงเทพฯ จำแนกตามความเชื่อในสื่อโฆษณาที่ว่าการสูบบุหรี่มีผลเสียต่อสุขภาพ
ความเชื่อในสื่อโฆษณา ร้อยละ
เชื่อ 81.0
ไม่เชื่อ 5.4
ตอบไม่ได้ 13.6
ตารางที่ 11 ร้อยละของชาวกรุงเทพฯ จำแนกตามความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องข้อความเตือนข้างซองบุหรี่ว่า “บุหรี่ทำให้สมรรถภาพ
ทางเพศของผู้สูบเสื่อมลง”
ความคิดเห็น ร้อยละ
เห็นด้วย 40.3
ไม่เห็นด้วย 40.9
ไม่แน่ใจ 18.8
ตารางที่ 13 ร้อยละของชาวกรุงเทพฯ จำแนกตามความคิดเห็นเรื่องการสูบบุหรี่ของผู้หญิง
ความคิดเห็นเกี่ยวกับการสูบบุหรี่ของผู้หญิง ร้อยละ
รู้สึกเฉยๆ 19.4
มองไปในทางเสียหาย 79.8
มองว่าเป็นผู้หญิงเก่ง ทันสมัย 0.8
--ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์--
-พห-