ผลการสำรวจพบว่าปี 48 ช่อง 3 หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ และคลื่นวิทยุ 97.5 เป็นที่นิยมมากที่สุดของคนกรุงเทพฯ
ปัจจุบันสื่อต่าง ๆ ในเขตกรุงเทพมหานคร มีจำนวนมากมายทั้งโทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ และวิทยุ ซึ่งประชาชนสามารถเลือกชม ฟังอ่าน ได้
ตรงตามความต้องการของตนเองตลอดเวลาและนอกจากนั้นสื่อต่าง ๆ ก็พยายามปรับปรุงพัฒนาตนเองให้อยู่ในกระแสความนิยมของผู้บริโภคเพื่อความอยู่
รอดท่ามกลางกระแสการแข่งขันที่รุนแรง ดังนั้น ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์ โดยศูนย์วิจัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ จึงได้ทำการสำรวจความคิดเห็นของคน
กรุงเทพฯ ในหัวข้อ “สื่อปี 48 ที่อยู่ในความนิยมของท่าน” จากจำนวน 1,299 คน ทุกระดับเพศ การศึกษา และอาชีพ โดยให้ระบุชื่อสื่อที่นิยมมากที่สุด
เพียงชื่อเดียวเท่านั้น ในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งผลการสำรวจสรุปได้ดังนี้
1. สื่อโทรทัศน์ ผู้ตอบร้อยละ 84.93 ได้ระบุช่องโทรทัศน์ และร้อยละ 16.07 ไม่ตอบ โดย โทรทัศน์ที่นิยมอันดับหนึ่งได้แก่ ช่อง 3
(ร้อยละ 30.25) รองลงมาอีก 3 ลำดับ ได้แก่ ช่อง ITV , (ร้อยละ 28.61) ช่อง 7 (ร้อยละ 24.58) ช่อง 9 (ร้อยละ 12.13) และเมื่อ
พิจารณาลึกลงไปถึงระดับการศึกษาโดยเปรียบเทียบระหว่างช่อง 3 กับ ITV พบว่า ผู้มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี นิยมดูช่อง 3 มากกว่า ITV แต่ผู้มี
การศึกษาปริญญาตรี และสูงขึ้นไปนิยมดู ITV มากกว่า ช่อง 3 (ตารางที่ 1)
2. สื่อหนังสือพิมพ์ ผู้ตอบร้อยละ 80.60 ได้ระบุชื่อหนังสือพิมพ์ และร้อยละ 19.40 ไม่ตอบ โดยหนังสือพิมพ์ ที่นิยมมากที่สุดอันดับหนึ่ง
ได้แก่ หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ (ร้อยละ 53.16) รองลงมาอีก 5 ลำดับ ได้แก่ หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ (ร้อยละ 14.37) หนังสือพิมพ์คมชัดลึก (ร้อยละ
9.23) หนังสือพิมพ์มติชน (ร้อยละ 8.32) หนังสือพิมพ์ข่าวสด (ร้อยละ 5.60) หนังสือพิมพ์ผู้จัดการ (ร้อยละ 4.94) ส่วนที่เหลือสามารถดูได้จาก
ตารางที่ 2
3. สื่อวิทยุ ผู้ตอบร้อยละ 57.82 ได้ระบุชื่อคลื่นวิทยุ และร้อยละ 42.18 ไม่ตอบ โดยคลื่นวิทยุที่นิยมมากที่สุดอันดับหนึ่ง ได้แก่ คลื่น
97.50 (ร้อยละ 15.59) รองลงมาอีก 5 ลำดับ ได้แก่ คลื่น 100.00 (ร้อยละ 12.92) คลื่น 95.50 (ร้อยละ 10.25) คลื่น 93.00 (ร้อยละ
9.59) คลื่น 95.00 (ร้อยละ 9.36) และคลื่น 88.50 (ร้อยละ 6.70) ส่วนที่เหลือสามารถดูได้จากตารางที่ 3
ตารางที่ 1 ลำดับของของฟรีทีวี ที่อยู่ในความนิยมของผู้ชม จำแนกตามระดับการศึกษา
ช่อง ต่ำกว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี ภาพรวมถ่วงน้ำหนัก
3 30.95 27.79 30.25
ITV 27.55 32.33 28.61
7 27.55 14.18 24.58
9 9.66 20.79 12.13
5 2.86 3.02 2.9
11 1.07 1.13 1.09
Nation 0.36 0.76 0.45
ตารางที่ 2 ลำดับของหนังสือพิมพ์ที่อยู่ในความนิยมของประชาชน ผู้อ่าน จำแนกตามระดับการศึกษา
ช่อง ต่ำกว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี ภาพรวมถ่วงน้ำหนัก
ไทยรัฐ 57.46 38.1 53.16
เดลินิวส์ 15.47 10.52 14.37
คมชัดลึก 8.47 11.9 9.23
มติชน 6.45 14.88 8.32
ข่าวสด 4.56 5.6 5.64
ผู้จัดการ 2.95 11.9 4.94
อื่นๆ 2.76 5.95 3.47
กรุงเทพธุรกิจ 0.18 1.59 0.5
โพสต์ทูเดย์ 0.37 0.4 0.37
ตารางที่ 3 ลำดับของคลื่นวิทยุความถี่ต่างๆที่อยู่ในความนิยมของผู้ชมจำแนกตามระดับการศึกษา
คลื่น ต่ำกว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี ภาพรวมถ่วงน้ำหนัก
97.5 16 14.14 15.59
100 12.57 14.14 12.92
95.5 9.14 14.14 10.25
93 8.29 14.14 9.59
95 8 14.14 9.36
88.5 4.57 14.14 6.7
96 3.71 14.14 6.03
98 3.14 14.14 5.58
106 2.86 14.14 5.36
99.5 2.29 14.14 4.92
105.5 1.71 14.14 4.47
106.5 1.71 14.14 4.47
91.5 1.71 14.14 4.47
93.5 1.71 14.14 4.47
อื่น ๆ 22.57 14.14 20.7
--ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์--
-พห-
ปัจจุบันสื่อต่าง ๆ ในเขตกรุงเทพมหานคร มีจำนวนมากมายทั้งโทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ และวิทยุ ซึ่งประชาชนสามารถเลือกชม ฟังอ่าน ได้
ตรงตามความต้องการของตนเองตลอดเวลาและนอกจากนั้นสื่อต่าง ๆ ก็พยายามปรับปรุงพัฒนาตนเองให้อยู่ในกระแสความนิยมของผู้บริโภคเพื่อความอยู่
รอดท่ามกลางกระแสการแข่งขันที่รุนแรง ดังนั้น ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์ โดยศูนย์วิจัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ จึงได้ทำการสำรวจความคิดเห็นของคน
กรุงเทพฯ ในหัวข้อ “สื่อปี 48 ที่อยู่ในความนิยมของท่าน” จากจำนวน 1,299 คน ทุกระดับเพศ การศึกษา และอาชีพ โดยให้ระบุชื่อสื่อที่นิยมมากที่สุด
เพียงชื่อเดียวเท่านั้น ในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งผลการสำรวจสรุปได้ดังนี้
1. สื่อโทรทัศน์ ผู้ตอบร้อยละ 84.93 ได้ระบุช่องโทรทัศน์ และร้อยละ 16.07 ไม่ตอบ โดย โทรทัศน์ที่นิยมอันดับหนึ่งได้แก่ ช่อง 3
(ร้อยละ 30.25) รองลงมาอีก 3 ลำดับ ได้แก่ ช่อง ITV , (ร้อยละ 28.61) ช่อง 7 (ร้อยละ 24.58) ช่อง 9 (ร้อยละ 12.13) และเมื่อ
พิจารณาลึกลงไปถึงระดับการศึกษาโดยเปรียบเทียบระหว่างช่อง 3 กับ ITV พบว่า ผู้มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี นิยมดูช่อง 3 มากกว่า ITV แต่ผู้มี
การศึกษาปริญญาตรี และสูงขึ้นไปนิยมดู ITV มากกว่า ช่อง 3 (ตารางที่ 1)
2. สื่อหนังสือพิมพ์ ผู้ตอบร้อยละ 80.60 ได้ระบุชื่อหนังสือพิมพ์ และร้อยละ 19.40 ไม่ตอบ โดยหนังสือพิมพ์ ที่นิยมมากที่สุดอันดับหนึ่ง
ได้แก่ หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ (ร้อยละ 53.16) รองลงมาอีก 5 ลำดับ ได้แก่ หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ (ร้อยละ 14.37) หนังสือพิมพ์คมชัดลึก (ร้อยละ
9.23) หนังสือพิมพ์มติชน (ร้อยละ 8.32) หนังสือพิมพ์ข่าวสด (ร้อยละ 5.60) หนังสือพิมพ์ผู้จัดการ (ร้อยละ 4.94) ส่วนที่เหลือสามารถดูได้จาก
ตารางที่ 2
3. สื่อวิทยุ ผู้ตอบร้อยละ 57.82 ได้ระบุชื่อคลื่นวิทยุ และร้อยละ 42.18 ไม่ตอบ โดยคลื่นวิทยุที่นิยมมากที่สุดอันดับหนึ่ง ได้แก่ คลื่น
97.50 (ร้อยละ 15.59) รองลงมาอีก 5 ลำดับ ได้แก่ คลื่น 100.00 (ร้อยละ 12.92) คลื่น 95.50 (ร้อยละ 10.25) คลื่น 93.00 (ร้อยละ
9.59) คลื่น 95.00 (ร้อยละ 9.36) และคลื่น 88.50 (ร้อยละ 6.70) ส่วนที่เหลือสามารถดูได้จากตารางที่ 3
ตารางที่ 1 ลำดับของของฟรีทีวี ที่อยู่ในความนิยมของผู้ชม จำแนกตามระดับการศึกษา
ช่อง ต่ำกว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี ภาพรวมถ่วงน้ำหนัก
3 30.95 27.79 30.25
ITV 27.55 32.33 28.61
7 27.55 14.18 24.58
9 9.66 20.79 12.13
5 2.86 3.02 2.9
11 1.07 1.13 1.09
Nation 0.36 0.76 0.45
ตารางที่ 2 ลำดับของหนังสือพิมพ์ที่อยู่ในความนิยมของประชาชน ผู้อ่าน จำแนกตามระดับการศึกษา
ช่อง ต่ำกว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี ภาพรวมถ่วงน้ำหนัก
ไทยรัฐ 57.46 38.1 53.16
เดลินิวส์ 15.47 10.52 14.37
คมชัดลึก 8.47 11.9 9.23
มติชน 6.45 14.88 8.32
ข่าวสด 4.56 5.6 5.64
ผู้จัดการ 2.95 11.9 4.94
อื่นๆ 2.76 5.95 3.47
กรุงเทพธุรกิจ 0.18 1.59 0.5
โพสต์ทูเดย์ 0.37 0.4 0.37
ตารางที่ 3 ลำดับของคลื่นวิทยุความถี่ต่างๆที่อยู่ในความนิยมของผู้ชมจำแนกตามระดับการศึกษา
คลื่น ต่ำกว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี ภาพรวมถ่วงน้ำหนัก
97.5 16 14.14 15.59
100 12.57 14.14 12.92
95.5 9.14 14.14 10.25
93 8.29 14.14 9.59
95 8 14.14 9.36
88.5 4.57 14.14 6.7
96 3.71 14.14 6.03
98 3.14 14.14 5.58
106 2.86 14.14 5.36
99.5 2.29 14.14 4.92
105.5 1.71 14.14 4.47
106.5 1.71 14.14 4.47
91.5 1.71 14.14 4.47
93.5 1.71 14.14 4.47
อื่น ๆ 22.57 14.14 20.7
--ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์--
-พห-