ศาลปกครองเป็นหน่วยงานที่บุคคลอาชีพต่าง ๆ ให้ความเชื่อมั่นมากในการทำงานอย่างบริสุทธิ์ยุติธรรม และน้อยมากที่คิดว่านายกจะเว้น
วรรคทางการเมือง
ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์ ศูนย์วิจัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ได้ทำการสำรวจความคิดเห็นของประชาชน ในหัวข้อ “ความเชื่อมั่นที่มีต่อความ
บริสุทธิ์ยุติธรรมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทางการเมือง และเหตุการณ์ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นภายหลังการเลือกตั้ง” โดยสอบถามจากบุคคลอาชีพต่าง ๆ ใน
เขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,353 คน เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2549 ซึ่งผลการสำรวจสรุปได้ดังนี้
1. บุคคลอาชีพต่าง ๆ มีความเชื่อมั่นในระดับมากและน้อยต่อการทำงานอย่างบริสุทธิ์ยุติธรรมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการเมือง เรียง
ลำดับได้ดังนี้
ลำดับที่ ชื่อหน่วยงาน ความเชื่อมั่น
มาก น้อย
1 ศาลปกครอง 70.5 29.5
2 ศาลรัฐธรรมนูญ 66.2 33.8
3 คณะกรรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (คตง.) 59.7 40.3
4 กรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) 51.6 48.4
5 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ปปช.) 48.5 51.5
6 คณะกรรมการเลือกตั้ง (กกต.) 47.9 52.1
7 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 47.7 52.3
8 สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) 45.1 54.9
สำหรับรายละเอียดความเชื่อมั่นที่มีต่อความบริสุทธิ์ยุติธรรมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยบุคคลอาชีพต่าง ๆ เป็นดังนี้
ความเชื่อมั่นของหน่วยงานจากบุคคลอาชีพต่าง ๆ (ร้อยละ)
หน่วยงาน
รับราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ พนักงาน/ลูกจ้างบริษัท
มาก น้อย มาก น้อย มาก น้อย
ศาลปกครอง 72.9 27.1 70.2 29.8 69.9 30.1
ศาลรัฐธรรมนูญ 65.8 34.2 63.8 36.2 68.3 31.7
คณะกรรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (คตง.) 60 40 59.6 40.4 60.3 39.7
กรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) 47.6 52.4 51.1 48.9 52.2 47.8
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ปปช.) 49.1 50.9 39.7 60.3 51.5 38.5
คณะกรรมการเลือกตั้ง (กกต.) 48.6 51.4 41.2 58.9 47.7 52.3
สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 43.3 56.7 43.6 56.5 46.3 53.7
สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) 14.8 58.1 40.7 59.3 46.3 53
2. สำหรับเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่คิดว่าจะเกิดขึ้นภายหลังการเลือกตั้งวันที่ 2 เมษายน 2549 นั้น พบว่า
- ร้อยละ 70.2 คิดว่าจะเกิดการประท้วงเรื่องการทุจริตการเลือกตั้งเป็นเรื่องที่ได้รับการคาดหมาย ร้อยละ 19.2 ไม่แน่ใจ และร้อย
ละ 10.6 คิดว่าไม่เกิดขึ้น
- ร้อยละ 60.6 คิดว่ายังคงมีการชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยต่อไป
ร้อยละ 30.2 ไม่แน่ใจ และร้อยละ 9.3 คิดว่าไม่เกิดขึ้น
- ร้อยละ 57.9 คิดว่ายังคงมีเสียงตะโกนขับไล่นายกรัฐมนตรีคนใหม่ที่มาจากคนเดิมมากยิ่งขึ้น ร้อยละ 31.3 ไม่แน่ใจ และร้อยละ
10.8 คิดว่าไม่เกิดขึ้น
- ร้อยละ 47.6 คิดว่าต้องมีการเลือกตั้งใหม่ ร้อยละ 38.8 ไม่แน่ใจ และร้อยละ 13.6 คิดว่าไม่เกิดขึ้น
- ร้อยละ 44.4 คิดว่ามีการปฏิรูปการเมืองโดยแก้ไขรัฐธรรมนูญ ร้อยละ 42.7 ไม่แน่ใจ และร้อยละ 12.9 คิดว่าไม่เกิดขึ้น
3. สำหรับการคาดหมายว่า พ.ต.ท.ทักษิณ จะประกาศเว้นวรรคทางการเมืองภายหลังการได้รับเลือกเข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคน
ใหม่นั้น ร้อยละ 48.5 ไม่แน่ใจ ร้อยละ 31.7 คิดว่าจะไม่เกิดขึ้น และร้อยละ 19.8 คิดว่าจะเกิดขึ้น
--ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์--
-พห-
วรรคทางการเมือง
ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์ ศูนย์วิจัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ได้ทำการสำรวจความคิดเห็นของประชาชน ในหัวข้อ “ความเชื่อมั่นที่มีต่อความ
บริสุทธิ์ยุติธรรมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทางการเมือง และเหตุการณ์ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นภายหลังการเลือกตั้ง” โดยสอบถามจากบุคคลอาชีพต่าง ๆ ใน
เขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 1,353 คน เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2549 ซึ่งผลการสำรวจสรุปได้ดังนี้
1. บุคคลอาชีพต่าง ๆ มีความเชื่อมั่นในระดับมากและน้อยต่อการทำงานอย่างบริสุทธิ์ยุติธรรมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการเมือง เรียง
ลำดับได้ดังนี้
ลำดับที่ ชื่อหน่วยงาน ความเชื่อมั่น
มาก น้อย
1 ศาลปกครอง 70.5 29.5
2 ศาลรัฐธรรมนูญ 66.2 33.8
3 คณะกรรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (คตง.) 59.7 40.3
4 กรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) 51.6 48.4
5 คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ปปช.) 48.5 51.5
6 คณะกรรมการเลือกตั้ง (กกต.) 47.9 52.1
7 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 47.7 52.3
8 สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) 45.1 54.9
สำหรับรายละเอียดความเชื่อมั่นที่มีต่อความบริสุทธิ์ยุติธรรมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยบุคคลอาชีพต่าง ๆ เป็นดังนี้
ความเชื่อมั่นของหน่วยงานจากบุคคลอาชีพต่าง ๆ (ร้อยละ)
หน่วยงาน
รับราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ พนักงาน/ลูกจ้างบริษัท
มาก น้อย มาก น้อย มาก น้อย
ศาลปกครอง 72.9 27.1 70.2 29.8 69.9 30.1
ศาลรัฐธรรมนูญ 65.8 34.2 63.8 36.2 68.3 31.7
คณะกรรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (คตง.) 60 40 59.6 40.4 60.3 39.7
กรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) 47.6 52.4 51.1 48.9 52.2 47.8
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ปปช.) 49.1 50.9 39.7 60.3 51.5 38.5
คณะกรรมการเลือกตั้ง (กกต.) 48.6 51.4 41.2 58.9 47.7 52.3
สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 43.3 56.7 43.6 56.5 46.3 53.7
สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) 14.8 58.1 40.7 59.3 46.3 53
2. สำหรับเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่คิดว่าจะเกิดขึ้นภายหลังการเลือกตั้งวันที่ 2 เมษายน 2549 นั้น พบว่า
- ร้อยละ 70.2 คิดว่าจะเกิดการประท้วงเรื่องการทุจริตการเลือกตั้งเป็นเรื่องที่ได้รับการคาดหมาย ร้อยละ 19.2 ไม่แน่ใจ และร้อย
ละ 10.6 คิดว่าไม่เกิดขึ้น
- ร้อยละ 60.6 คิดว่ายังคงมีการชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยต่อไป
ร้อยละ 30.2 ไม่แน่ใจ และร้อยละ 9.3 คิดว่าไม่เกิดขึ้น
- ร้อยละ 57.9 คิดว่ายังคงมีเสียงตะโกนขับไล่นายกรัฐมนตรีคนใหม่ที่มาจากคนเดิมมากยิ่งขึ้น ร้อยละ 31.3 ไม่แน่ใจ และร้อยละ
10.8 คิดว่าไม่เกิดขึ้น
- ร้อยละ 47.6 คิดว่าต้องมีการเลือกตั้งใหม่ ร้อยละ 38.8 ไม่แน่ใจ และร้อยละ 13.6 คิดว่าไม่เกิดขึ้น
- ร้อยละ 44.4 คิดว่ามีการปฏิรูปการเมืองโดยแก้ไขรัฐธรรมนูญ ร้อยละ 42.7 ไม่แน่ใจ และร้อยละ 12.9 คิดว่าไม่เกิดขึ้น
3. สำหรับการคาดหมายว่า พ.ต.ท.ทักษิณ จะประกาศเว้นวรรคทางการเมืองภายหลังการได้รับเลือกเข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคน
ใหม่นั้น ร้อยละ 48.5 ไม่แน่ใจ ร้อยละ 31.7 คิดว่าจะไม่เกิดขึ้น และร้อยละ 19.8 คิดว่าจะเกิดขึ้น
--ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์--
-พห-