ชาวกรุงเทพฯ ส่วนใหญ่มองว่าความสุข คือ การมีร่างกายและจิตใจที่ดี และเกินครึ่งที่คิดว่าปีหน้าจะสุขกว่าปี 49
ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์ ศูนย์วิจัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ทำการสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับความสุขของชาวกรุงเทพจำนวน 1,677 คน จากทุกอาชีพ การศึกษา ระหว่างวันที่ 22-26 ธันวาคม 2549 ซึ่งผลการสำรวจสรุปได้ ดังนี้
1. ความหมายของความสุขในมุมมองของชาวกรุงเทพ เรียงลำดับตามความสำคัญได้ ดังนี้
1.1 ความสุข หมายถึง การมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดี โดยร้อยละ 65.81 คิดว่าสำคัญมาก ร้อยละ 32.72 คิดว่าสำคัญปานกลาง และร้อยละ 1.47 คิดว่าสำคัญน้อย
1.2 ความสุข หมายถึง ความภาคภูมิใจในตนเอง โดยร้อยละ 62.84 คิดว่าสำคัญมาก ร้อยละ 35.50 คิดว่าสำคัญปานกลาง และร้อยละ 1.66 คิดว่าสำคัญน้อย
1.3 ความสุข หมายถึง ความมีอิสระในการคิดและการตัดสินใจ โดยร้อยละ 62.51 คิดว่าสำคัญมาก ร้อยละ 34.23 คิดว่าสำคัญปานกลาง และร้อยละ 3.26 คิดว่าสำคัญน้อย
1.4 ความสุข หมายถึง การมีคุณธรรม โดนร้อยละ 60.71 คิดว่าสำคัญมาก ร้อยละ 37.81 คิดว่าสำคัญปานกลาง และร้อยละ 1.48 คิดว่าสำคัญน้อย
1.5 ความสุข หมายถึง ความความอบอุ่นในครอบครัว โดยร้อยละ 59.67 คิดว่าสำคัญมาก ร้อยละ 36.29 คิดว่าสำคัญปานกลาง และร้อยละ 4.04 คิดว่าสำคัญน้อย
1.6 ความสุข หมายถึง ความเอื้ออาทรที่ท่านมีต่อเพื่อนและสังคม โดยร้อยละ 50.83 คิดว่าสำคัญมาก ร้อยละ 46.16 คิดว่าสำคัญปานกลาง และร้อยละ 3.01 คิดว่าสำคัญน้อย
1.7 ความสุข หมายถึง ความมั่นคงในชีวิต โดยร้อยละ 50.77 คิดว่าสำคัญมาก ร้อยละ 44.39 คิดว่าสำคัญปานกลาง และร้อยละ 4.84 คิดว่าสำคัญน้อย
1.8 ความสุข หมายถึง การอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี โดยร้อยละ 48.25 คิดว่าสำคัญมาก ร้อยละ 43.39 คิดว่าสำคัญปานกลาง และร้อยละ 8.36 คิดว่าสำคัญน้อย
2. ส่วนความคาดหวังเกี่ยวกับความสุขของตนเองเปรียบเทียบกับปี 2549 นั้น ร้อยละ 62.93 คาดหวังว่าปีหน้าจะมีความสุขมากกว่าปีที่แล้ว ร้อยละ 29.07 คาดหวังว่า จะมีความสุขพอๆ กัน และร้อยละ 8.00 คาดว่า จะมีความสุขน้อยกว่าปีที่แล้ว
3. อย่างไรก็ตามหลักของทุกศาสนาสอนให้คนปฏิบัติตามเพื่อความสุขของตนเอง พบว่าในกาปฏิบัติกิจทางศาสนาของชาวกรุงเทพนั้น ร้อยละ 50.6 จะปฏิบัติกิจทางศาสนาตามความนับถือของตนนานๆ ครั้ง ร้อยละ 31.66 จะปฏิบัติกิจทางศาสนาเฉพาะวันสำคัญทางศาสนา ร้อยละ 8.29 ปฏิบัติทุกสัปดาห์ ร้อยละ 6.92 ปฏิบัติทุกวัน และร้อยละ 2.56 ไม่เคยเลย โดยผู้ที่ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาเป็นประจำจะมีความสุขในระดับมากกว่ากลุ่มอื่น
--ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์--
-พห-
ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์ ศูนย์วิจัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ทำการสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับความสุขของชาวกรุงเทพจำนวน 1,677 คน จากทุกอาชีพ การศึกษา ระหว่างวันที่ 22-26 ธันวาคม 2549 ซึ่งผลการสำรวจสรุปได้ ดังนี้
1. ความหมายของความสุขในมุมมองของชาวกรุงเทพ เรียงลำดับตามความสำคัญได้ ดังนี้
1.1 ความสุข หมายถึง การมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดี โดยร้อยละ 65.81 คิดว่าสำคัญมาก ร้อยละ 32.72 คิดว่าสำคัญปานกลาง และร้อยละ 1.47 คิดว่าสำคัญน้อย
1.2 ความสุข หมายถึง ความภาคภูมิใจในตนเอง โดยร้อยละ 62.84 คิดว่าสำคัญมาก ร้อยละ 35.50 คิดว่าสำคัญปานกลาง และร้อยละ 1.66 คิดว่าสำคัญน้อย
1.3 ความสุข หมายถึง ความมีอิสระในการคิดและการตัดสินใจ โดยร้อยละ 62.51 คิดว่าสำคัญมาก ร้อยละ 34.23 คิดว่าสำคัญปานกลาง และร้อยละ 3.26 คิดว่าสำคัญน้อย
1.4 ความสุข หมายถึง การมีคุณธรรม โดนร้อยละ 60.71 คิดว่าสำคัญมาก ร้อยละ 37.81 คิดว่าสำคัญปานกลาง และร้อยละ 1.48 คิดว่าสำคัญน้อย
1.5 ความสุข หมายถึง ความความอบอุ่นในครอบครัว โดยร้อยละ 59.67 คิดว่าสำคัญมาก ร้อยละ 36.29 คิดว่าสำคัญปานกลาง และร้อยละ 4.04 คิดว่าสำคัญน้อย
1.6 ความสุข หมายถึง ความเอื้ออาทรที่ท่านมีต่อเพื่อนและสังคม โดยร้อยละ 50.83 คิดว่าสำคัญมาก ร้อยละ 46.16 คิดว่าสำคัญปานกลาง และร้อยละ 3.01 คิดว่าสำคัญน้อย
1.7 ความสุข หมายถึง ความมั่นคงในชีวิต โดยร้อยละ 50.77 คิดว่าสำคัญมาก ร้อยละ 44.39 คิดว่าสำคัญปานกลาง และร้อยละ 4.84 คิดว่าสำคัญน้อย
1.8 ความสุข หมายถึง การอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี โดยร้อยละ 48.25 คิดว่าสำคัญมาก ร้อยละ 43.39 คิดว่าสำคัญปานกลาง และร้อยละ 8.36 คิดว่าสำคัญน้อย
2. ส่วนความคาดหวังเกี่ยวกับความสุขของตนเองเปรียบเทียบกับปี 2549 นั้น ร้อยละ 62.93 คาดหวังว่าปีหน้าจะมีความสุขมากกว่าปีที่แล้ว ร้อยละ 29.07 คาดหวังว่า จะมีความสุขพอๆ กัน และร้อยละ 8.00 คาดว่า จะมีความสุขน้อยกว่าปีที่แล้ว
3. อย่างไรก็ตามหลักของทุกศาสนาสอนให้คนปฏิบัติตามเพื่อความสุขของตนเอง พบว่าในกาปฏิบัติกิจทางศาสนาของชาวกรุงเทพนั้น ร้อยละ 50.6 จะปฏิบัติกิจทางศาสนาตามความนับถือของตนนานๆ ครั้ง ร้อยละ 31.66 จะปฏิบัติกิจทางศาสนาเฉพาะวันสำคัญทางศาสนา ร้อยละ 8.29 ปฏิบัติทุกสัปดาห์ ร้อยละ 6.92 ปฏิบัติทุกวัน และร้อยละ 2.56 ไม่เคยเลย โดยผู้ที่ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาเป็นประจำจะมีความสุขในระดับมากกว่ากลุ่มอื่น
--ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์--
-พห-