ผู้มีการศึกษามองว่านายกฯ ทำงานคุ้มกับภาษีที่ตนจ่ายขณะที่ผิดหวังกับการทำงานของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
ข้าราชการการเมืองเป็นผู้เสนอตัวเข้ามารับใช้ประชาชนโดยสมัครเป็นตัวแทนผ่านการเลือกตั้ง ทำหน้าที่ในการบริหารประเทศ ออก
กฎหมายและได้รับผลตอบแทนในรูปเงินเดือนหรือผลประโยชน์และสิทธิอื่น ๆ ซึ่งมาจากภาษีของประชาชน และขณะนี้ก็ได้ผ่านเวลาของการทำงานมา
ช่วงขณะหนึ่งแล้ว ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์ ศูนย์วิจัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ จึงทำการสำรวจความคิดเห็นของประชาชน โดยเฉพาะผู้มีการศึกษาตั้งแต่
มัธยมศึกษาเป็นต้นไป ในเรื่อง “ข้าราชการการเมืองประเภทใดที่ทำงานคุ้มค่ากับภาษีของท่าน” จำนวน 1,139 คน ในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งผล
สำรวจสรุปได้ดังนี้
ผู้มีการศึกษาตั้งแต่มัธยมศึกษาเป็นต้นไป เห็นว่า ข้าราชการการเมืองที่ทำงานคุ้มค่ากับภาษีที่ตนเองจ่ายให้เป็นเงินเดือนและผลตอบแทน
อื่น ๆ นั้น พบว่า ร้อยละ 73.5 คิดว่านายกรัฐมนตรีเป็นผู้ที่ทำงานคุ้มค่ากับภาษี เป็นลำดับแรก รองลงมา ร้อยละ 53.4 ให้กับ ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้
แทนราษฎร นอกนั้นมีความเห็นว่า ทำงานคุ้มค่าต่ำกว่าร้อยละ 50 ได้แก่ ประธานสภาผู้แทนราษฎร (ร้อยละ 49.2) ประธานวุฒิสภา (ร้อยละ
49.1) รองนายกรัฐมนตรี (ร้อยละ 48.2) รัฐมนตรี (ร้อยละ 45.4) รองประธานสภาผู้แทนราษฎร (ร้อยละ 39.7) รองประธานวุฒิสภา (ร้อย
ละ 38.5) สมาชิกวุฒิสภา (ร้อยละ 33.2) และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ร้อยละ 29.9)
ตารางสรุปความคิดเห็น
คุณลักษณะของผู้ตอบ
คุณลักษณะของผู้ตอบ ร้อยละ
เพศ
ชาย 44.6
หญิง 55.4
อายุ (ปี)
15 — 19 ปี 0.3
20 — 24 ปี 10.7
25 — 29 ปี 22.5
30 — 39 ปี 30.1
40 — 49 ปี 25.3
50 — 59 ปี 10.7
60 ปีขึ้นไป 0.3
สภานภาพการสมรส
สมรส 49.4
โสด 50.6
การศึกษา
ประถมศึกษาหรือต่ำกว่า 2.9
มัธยมศึกษา / ปวช. 15.3
อนุปริญญา / ปวส. 13.4
ปริญญาตรีหรือสูงกว่า 68.5
อาชีพ
ข้าราชการประจำ 50.7
ทหาร / ตำรวจ 12.2
พนักงาน / ลูกจ้างเอกชน 34
ประกอบธุรกิจส่วนตัว 3.1
ความคิดเห็นต่อการให้เงินบำเหน็จบำนาญ จำแนกข้าราชการการเมืองตามอาชีพ
อาชีพ เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย
ข้าราชการประจำ 12.3 87.7
ทหาร / ตำรวจ 17.5 82.5
พนักงาน / ลูกจ้างเอกชน 25.3 74.7
ประกอบธุรกิจส่วนตัว 33.3 66.7
รวม 18 82
ความคิดเห็นต่อการให้เงินบำเหน็จบำนาญ จำแนกข้าราชการการเมืองตามระดับการศึกษา
ระดับการศึกษา เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย
ประถมศึกษาหรือต่ำกว่า 38.2 61.8
มัธยมศึกษา / ปวช. 24 76
อนุปริญญา / ปวส. 17.2 82.8
ปริญญาตรีหรือสูงกว่า 15.9 84.1
รวม 18 82
--ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์--
-พห-
ข้าราชการการเมืองเป็นผู้เสนอตัวเข้ามารับใช้ประชาชนโดยสมัครเป็นตัวแทนผ่านการเลือกตั้ง ทำหน้าที่ในการบริหารประเทศ ออก
กฎหมายและได้รับผลตอบแทนในรูปเงินเดือนหรือผลประโยชน์และสิทธิอื่น ๆ ซึ่งมาจากภาษีของประชาชน และขณะนี้ก็ได้ผ่านเวลาของการทำงานมา
ช่วงขณะหนึ่งแล้ว ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์ ศูนย์วิจัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ จึงทำการสำรวจความคิดเห็นของประชาชน โดยเฉพาะผู้มีการศึกษาตั้งแต่
มัธยมศึกษาเป็นต้นไป ในเรื่อง “ข้าราชการการเมืองประเภทใดที่ทำงานคุ้มค่ากับภาษีของท่าน” จำนวน 1,139 คน ในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งผล
สำรวจสรุปได้ดังนี้
ผู้มีการศึกษาตั้งแต่มัธยมศึกษาเป็นต้นไป เห็นว่า ข้าราชการการเมืองที่ทำงานคุ้มค่ากับภาษีที่ตนเองจ่ายให้เป็นเงินเดือนและผลตอบแทน
อื่น ๆ นั้น พบว่า ร้อยละ 73.5 คิดว่านายกรัฐมนตรีเป็นผู้ที่ทำงานคุ้มค่ากับภาษี เป็นลำดับแรก รองลงมา ร้อยละ 53.4 ให้กับ ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้
แทนราษฎร นอกนั้นมีความเห็นว่า ทำงานคุ้มค่าต่ำกว่าร้อยละ 50 ได้แก่ ประธานสภาผู้แทนราษฎร (ร้อยละ 49.2) ประธานวุฒิสภา (ร้อยละ
49.1) รองนายกรัฐมนตรี (ร้อยละ 48.2) รัฐมนตรี (ร้อยละ 45.4) รองประธานสภาผู้แทนราษฎร (ร้อยละ 39.7) รองประธานวุฒิสภา (ร้อย
ละ 38.5) สมาชิกวุฒิสภา (ร้อยละ 33.2) และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ร้อยละ 29.9)
ตารางสรุปความคิดเห็น
คุณลักษณะของผู้ตอบ
คุณลักษณะของผู้ตอบ ร้อยละ
เพศ
ชาย 44.6
หญิง 55.4
อายุ (ปี)
15 — 19 ปี 0.3
20 — 24 ปี 10.7
25 — 29 ปี 22.5
30 — 39 ปี 30.1
40 — 49 ปี 25.3
50 — 59 ปี 10.7
60 ปีขึ้นไป 0.3
สภานภาพการสมรส
สมรส 49.4
โสด 50.6
การศึกษา
ประถมศึกษาหรือต่ำกว่า 2.9
มัธยมศึกษา / ปวช. 15.3
อนุปริญญา / ปวส. 13.4
ปริญญาตรีหรือสูงกว่า 68.5
อาชีพ
ข้าราชการประจำ 50.7
ทหาร / ตำรวจ 12.2
พนักงาน / ลูกจ้างเอกชน 34
ประกอบธุรกิจส่วนตัว 3.1
ความคิดเห็นต่อการให้เงินบำเหน็จบำนาญ จำแนกข้าราชการการเมืองตามอาชีพ
อาชีพ เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย
ข้าราชการประจำ 12.3 87.7
ทหาร / ตำรวจ 17.5 82.5
พนักงาน / ลูกจ้างเอกชน 25.3 74.7
ประกอบธุรกิจส่วนตัว 33.3 66.7
รวม 18 82
ความคิดเห็นต่อการให้เงินบำเหน็จบำนาญ จำแนกข้าราชการการเมืองตามระดับการศึกษา
ระดับการศึกษา เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย
ประถมศึกษาหรือต่ำกว่า 38.2 61.8
มัธยมศึกษา / ปวช. 24 76
อนุปริญญา / ปวส. 17.2 82.8
ปริญญาตรีหรือสูงกว่า 15.9 84.1
รวม 18 82
--ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์--
-พห-