คนกรุงเทพฯ กว่าร้อยละ 70 ไม่รู้จักเสรีไทยและเห็นว่าไม่เหมาะสมที่ใช้เป็นชื่อพรรคการเมือง
จากการที่มีกลุ่มบุคคลกลุ่มหนึ่งจะตั้งพรรคการเมืองใหม่โดยใช้ชื่อ “พรรคเสรีไทย” และมีเสียงคัดค้านถึงความไม่เหมาะสมเพราะเป็นชื่อ
ของกลุ่มคนไทยที่ร่วมรบในสงครามโลกครั้งที่ 2 นั้น ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์ ศูนย์วิจัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ จึงได้ทำการสำรวจความคิดเห็นของคน
กรุงเทพฯ ในหัวข้อ “ตั้งชื่อพรรคเสรีไทยเหมาะสมหรือไม่” โดยสอบถามชาวกรุงเทพฯ จำนวน 1,440 คน จากทุกระดับการศึกษา เพศ อายุ อาชีพ
ระหว่างวันที่ 12-13 พฤศจิกายน 2549 ซึ่งผลการสำรวจสรุปได้ดังนี้
1. เมื่อถามถึงความเข้าใจเกี่ยวกับเสรีไทยพบว่า ร้อยละ 42.4 หมายถึงคนไทยที่มีจิตวิญญาณของความเป็นอิสระ ร้อยละ 30.6 หมาย
ถึงผู้ที่เป็นอิสระหรือไม่ขึ้นกับใคร ร้อยละ 25.8 หมายถึงคนไทยช่วยชาติสู้รบร่วมกับพันธมิตรต่อต้านญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ 2 และร้อยละ 1.1 เข้า
ใจในความหมายอื่นๆ เช่น ชื่อถนน เป็นประเทศเอกราชไม่เคยเป็นเมืองขึ้น
2. สำหรับความเหมาะสมที่จะตั้งพรรคการเมือง โดยใช้ชื่อ “พรรคเสรีไทย” นั้น ได้สอบถามภายใต้เงื่อนไข 2 ประการ คือ กรณีผู้จะ
ตั้งพรรคไม่เคยเป็นสมาชิกเสรีไทยมาก่อน ร้อยละ 66.7 เห็นว่าไม่เหมาะสม และร้อยละ 33.3 เห็นว่าเหมาะสม แต่ถ้าผู้จะตั้งพรรคเคยเป็นสมาชิก
เสรีไทยมาก่อน ร้อยละ 58.3 เห็นว่าเหมาะสม และร้อยละ 41.7 เห็นว่าไม่เหมาะสม
ภาคผนวก
ความเข้าใจและความคิดเห็นเกี่ยวกับ “เสรีไทย” จำแนกตามคุณลักษณะของตัวอย่าง
1. ความหมายของเสรีไทยตามความเข้าใจของผู้ตอบ จำแนกตามเพศ และคุณวุฒิการศึกษา
คุณลักษณะผู้ตอบ คนไทยที่มีจิตวิญญาณ ผู้ที่เป็นอิสระหรือ คนไทยช่วยชาติสู้รบร่วมกับพันธมิตร อื่นๆ เช่น เป็นคนดี, รวม
ของความเป็นอิสระ ไม่ขึ้นกับใคร ต่อต้านญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ 2 ชื่อถนน,ไทยไม่เป็นเมืองขึ้น
(เข้าใจผิด) (เข้าใจผิด) (เข้าใจถูก) (เข้าใจผิด)
เพศ
ชาย 44 28 27 1 100
หญิง 41 33 25 1 100
การศึกษา
ประถมศึกษาหรือต่ำกว่า 33 34 27 2 100
มัธยมศึกษา/ปวช. 44 31 24 1 100
อนุปริญญา/ปวส. 43 35 27 1 100
ปริญญาตรีหรือสูงกว่า 42 27 30 1 100
2. คำตอบถึงความเหมาะสมกรณีที่มีนักการเมืองไม่เคยเป็นสมาชิกเสรีไทยจะตั้งพรรคชื่อ “พรรคเสรีไทย” จำแนกตามเพศและคุณวุฒิการศึกษา
คุณลักษณะผู้ตอบ เหมาะสม ไม่เหมาะสม รวม
เพศ
ชาย 35.4 64.6 100
หญิง 31.6 68.4 100
การศึกษา
ประถมศึกษาหรือต่ำกว่า 37.9 62.1 100
มัธยมศึกษา/ปวช. 32.7 67.3 100
อนุปริญญา/ปวส. 29.4 70.6 100
ปริญญาตรีหรือสูงกว่า 35.5 64.7 100
3. คำตอบถึงความเหมาะสมกรณีมีนักการเมืองที่เคยเป็นสมาชิกเสรีไทยจะตั้งพรรคชื่อ “พรรคเสรีไทย” จำแนกตามเพศและคุณวุฒิการศึกษา
คุณลักษณะผู้ตอบ เหมาะสม ไม่เหมาะสม รวม
เพศ
ชาย 59.2 40.8 100
หญิง 57.7 42.3 100
การศึกษา
ประถมศึกษาหรือต่ำกว่า 56.5 43.5 100
มัธยมศึกษา/ปวช. 63.8 36.2 100
อนุปริญญา/ปวส. 58.1 41.9 100
ปริญญาตรีหรือสูงกว่า 54.9 45.1 100
4. ความคิดเห็นของผู้ตอบที่นึกถึง “เสรีไทย” ในความหมายต่างๆ ต่อความเหมาะสม กรณีที่นักการเมืองไม่เคย
เป็นสมาชิกเสรีไทยมาก่อน จะใช้ชื่อ “พรรคเสรีไทย”
ผู้ตอบที่นึกถึงความหมายเสรีไทย เหมาะสม ไม่เหมาะสม รวม
1.คนไทยที่มีจิตวิญญาณของความเป็นอิสระ (เข้าใจผิด) 34.4 65.6 100
2.ผู้ที่เป็นอิสระหรือไม่ขึ้นกับใคร (เข้าใจผิด) 30.3 69.7 100
3.คนไทยช่วยชาติสู้รบร่วมกับพันธมิตรต่อต้านญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ 2(เข้าใจถูก) 35.1 64.9 100
4.อื่นๆเช่น เป็นคนดี,ชื่อถนน,ไทยไม่เป็นเมืองขึ้น 33.3 66.7 100
(เข้าใจผิด)
5. ความคิดเห็นของผู้ตอบที่นึกถึง “เสรีไทย” ในความหมายต่างๆ ต่อความเหมาะสม กรณีที่นักการเมืองเคย
เป็นสมาชิกเสรีไทยมาก่อน จะใช้ชื่อ “พรรคเสรีไทย”
ผู้ตอบที่นึกถึงความหมายเสรีไทย เหมาะสม ไม่เหมาะสม รวม
1.คนไทยที่มีจิตวิญญาณของความเป็นอิสระ (เข้าใจผิด) 56.5 43.5 100
2.ผู้ที่เป็นอิสระหรือไม่ขึ้นกับใคร (เข้าใจผิด) 65.4 34.6 100
3.คนไทยช่วยชาติสู้รบร่วมกับพันธมิตรต่อต้านญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ 2(เข้าใจถูก) 54.6 45.4 100
4.อื่นๆเช่น เป็นคนดี,ชื่อถนน,ไทยไม่เป็นเมืองขึ้น 33.3 66.7 100
(เข้าใจผิด)
--ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์--
-พห-
จากการที่มีกลุ่มบุคคลกลุ่มหนึ่งจะตั้งพรรคการเมืองใหม่โดยใช้ชื่อ “พรรคเสรีไทย” และมีเสียงคัดค้านถึงความไม่เหมาะสมเพราะเป็นชื่อ
ของกลุ่มคนไทยที่ร่วมรบในสงครามโลกครั้งที่ 2 นั้น ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์ ศูนย์วิจัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ จึงได้ทำการสำรวจความคิดเห็นของคน
กรุงเทพฯ ในหัวข้อ “ตั้งชื่อพรรคเสรีไทยเหมาะสมหรือไม่” โดยสอบถามชาวกรุงเทพฯ จำนวน 1,440 คน จากทุกระดับการศึกษา เพศ อายุ อาชีพ
ระหว่างวันที่ 12-13 พฤศจิกายน 2549 ซึ่งผลการสำรวจสรุปได้ดังนี้
1. เมื่อถามถึงความเข้าใจเกี่ยวกับเสรีไทยพบว่า ร้อยละ 42.4 หมายถึงคนไทยที่มีจิตวิญญาณของความเป็นอิสระ ร้อยละ 30.6 หมาย
ถึงผู้ที่เป็นอิสระหรือไม่ขึ้นกับใคร ร้อยละ 25.8 หมายถึงคนไทยช่วยชาติสู้รบร่วมกับพันธมิตรต่อต้านญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ 2 และร้อยละ 1.1 เข้า
ใจในความหมายอื่นๆ เช่น ชื่อถนน เป็นประเทศเอกราชไม่เคยเป็นเมืองขึ้น
2. สำหรับความเหมาะสมที่จะตั้งพรรคการเมือง โดยใช้ชื่อ “พรรคเสรีไทย” นั้น ได้สอบถามภายใต้เงื่อนไข 2 ประการ คือ กรณีผู้จะ
ตั้งพรรคไม่เคยเป็นสมาชิกเสรีไทยมาก่อน ร้อยละ 66.7 เห็นว่าไม่เหมาะสม และร้อยละ 33.3 เห็นว่าเหมาะสม แต่ถ้าผู้จะตั้งพรรคเคยเป็นสมาชิก
เสรีไทยมาก่อน ร้อยละ 58.3 เห็นว่าเหมาะสม และร้อยละ 41.7 เห็นว่าไม่เหมาะสม
ภาคผนวก
ความเข้าใจและความคิดเห็นเกี่ยวกับ “เสรีไทย” จำแนกตามคุณลักษณะของตัวอย่าง
1. ความหมายของเสรีไทยตามความเข้าใจของผู้ตอบ จำแนกตามเพศ และคุณวุฒิการศึกษา
คุณลักษณะผู้ตอบ คนไทยที่มีจิตวิญญาณ ผู้ที่เป็นอิสระหรือ คนไทยช่วยชาติสู้รบร่วมกับพันธมิตร อื่นๆ เช่น เป็นคนดี, รวม
ของความเป็นอิสระ ไม่ขึ้นกับใคร ต่อต้านญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ 2 ชื่อถนน,ไทยไม่เป็นเมืองขึ้น
(เข้าใจผิด) (เข้าใจผิด) (เข้าใจถูก) (เข้าใจผิด)
เพศ
ชาย 44 28 27 1 100
หญิง 41 33 25 1 100
การศึกษา
ประถมศึกษาหรือต่ำกว่า 33 34 27 2 100
มัธยมศึกษา/ปวช. 44 31 24 1 100
อนุปริญญา/ปวส. 43 35 27 1 100
ปริญญาตรีหรือสูงกว่า 42 27 30 1 100
2. คำตอบถึงความเหมาะสมกรณีที่มีนักการเมืองไม่เคยเป็นสมาชิกเสรีไทยจะตั้งพรรคชื่อ “พรรคเสรีไทย” จำแนกตามเพศและคุณวุฒิการศึกษา
คุณลักษณะผู้ตอบ เหมาะสม ไม่เหมาะสม รวม
เพศ
ชาย 35.4 64.6 100
หญิง 31.6 68.4 100
การศึกษา
ประถมศึกษาหรือต่ำกว่า 37.9 62.1 100
มัธยมศึกษา/ปวช. 32.7 67.3 100
อนุปริญญา/ปวส. 29.4 70.6 100
ปริญญาตรีหรือสูงกว่า 35.5 64.7 100
3. คำตอบถึงความเหมาะสมกรณีมีนักการเมืองที่เคยเป็นสมาชิกเสรีไทยจะตั้งพรรคชื่อ “พรรคเสรีไทย” จำแนกตามเพศและคุณวุฒิการศึกษา
คุณลักษณะผู้ตอบ เหมาะสม ไม่เหมาะสม รวม
เพศ
ชาย 59.2 40.8 100
หญิง 57.7 42.3 100
การศึกษา
ประถมศึกษาหรือต่ำกว่า 56.5 43.5 100
มัธยมศึกษา/ปวช. 63.8 36.2 100
อนุปริญญา/ปวส. 58.1 41.9 100
ปริญญาตรีหรือสูงกว่า 54.9 45.1 100
4. ความคิดเห็นของผู้ตอบที่นึกถึง “เสรีไทย” ในความหมายต่างๆ ต่อความเหมาะสม กรณีที่นักการเมืองไม่เคย
เป็นสมาชิกเสรีไทยมาก่อน จะใช้ชื่อ “พรรคเสรีไทย”
ผู้ตอบที่นึกถึงความหมายเสรีไทย เหมาะสม ไม่เหมาะสม รวม
1.คนไทยที่มีจิตวิญญาณของความเป็นอิสระ (เข้าใจผิด) 34.4 65.6 100
2.ผู้ที่เป็นอิสระหรือไม่ขึ้นกับใคร (เข้าใจผิด) 30.3 69.7 100
3.คนไทยช่วยชาติสู้รบร่วมกับพันธมิตรต่อต้านญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ 2(เข้าใจถูก) 35.1 64.9 100
4.อื่นๆเช่น เป็นคนดี,ชื่อถนน,ไทยไม่เป็นเมืองขึ้น 33.3 66.7 100
(เข้าใจผิด)
5. ความคิดเห็นของผู้ตอบที่นึกถึง “เสรีไทย” ในความหมายต่างๆ ต่อความเหมาะสม กรณีที่นักการเมืองเคย
เป็นสมาชิกเสรีไทยมาก่อน จะใช้ชื่อ “พรรคเสรีไทย”
ผู้ตอบที่นึกถึงความหมายเสรีไทย เหมาะสม ไม่เหมาะสม รวม
1.คนไทยที่มีจิตวิญญาณของความเป็นอิสระ (เข้าใจผิด) 56.5 43.5 100
2.ผู้ที่เป็นอิสระหรือไม่ขึ้นกับใคร (เข้าใจผิด) 65.4 34.6 100
3.คนไทยช่วยชาติสู้รบร่วมกับพันธมิตรต่อต้านญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ 2(เข้าใจถูก) 54.6 45.4 100
4.อื่นๆเช่น เป็นคนดี,ชื่อถนน,ไทยไม่เป็นเมืองขึ้น 33.3 66.7 100
(เข้าใจผิด)
--ธุรกิจบัณฑิตย์โพลล์--
-พห-