เปิดประตูสู่ตลาดใหม่: DMIC...Mega Project ขับเคลื่อนสู่อินเดียโฉมใหม่

ข่าวหุ้น-การเงิน Monday December 3, 2018 14:12 —ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้า

รู้หรือไม่ ?
  • ในช่วง 3-4 ปีที่ผ่านมารัฐบาลอินเดียเร่งยกระดับโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อหวังดึงดูดนักลงทุนต่างชาติตามนโยบาย Make in India ซึ่งเริ่มเห็นผลมากขึ้นตามลำดับ สะท้อนได้จากล่าสุด Ease of Doing Business ปี 2562 อยู่ที่อันดับ 77 (ดีขึ้น 65 อันดับภายใน 4 ปี) และ Logistics Performance Index ปี 2561 อยู่ที่อันดับ 44 (ดีขึ้น 10 อันดับภายใน 4 ปี)
  • DMIC เป็นหนึ่งในโครงการลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานที่มีมูลค่าสูงสุดของอินเดียราว 1 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งจะช่วยลดระยะเวลาขนส่งจากกรุงนิวเดลี-เมืองมุมไบจากเดิม 14 วัน เป็น 14 ชั่วโมง

Delhi-Mumbai Industrial Corridor (DMIC)

DMIC ครอบคลุมพื้นที่ใน 7 รัฐ :

1. Delhi 2. Haryana 3. Uttar Pradesh 4. Rajasthan 5. Madhya Pradesh 6. Gujarat 7. Maharashtra

ระยะทางโครงการ : 1,504 กิโลเมตร

พื้นที่รวม 7 รัฐ : 1.44 ล้าน ตร.กม. (44% ของประเทศ)

ประชากรรวม 7 รัฐ : 611 ล้านคน (46% ของประเทศ)

ข้อมูลเศรษฐกิจสำคัญ

  • GDP : 1.2 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ (ราว 45% ของประเทศ)
  • FDI : 2 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ (ราว 55% ของประเทศ) หน่วยงานภาครัฐสำคัญของไทยในพื้นที่ DMIC
  • สถานเอกอัครราชฑูต : กรุงนิวเดลี
  • สถานกงสุลใหญ่ : เมืองมุมไบ
  • สำนักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ : กรุงนิวเดลี เมืองมุมไบ

Delhi-Mumbai Industrial Corridor (DMIC)

ระเบียบอุตสาหกรรม Delhi - Mumbai

DMIC Highlights

เชื่อมเส้นทางอินเดียตอนเหนือจากเมืองหลวงกรุงนิวเดลีถึงเมืองมุมไบ ศูนย์กลางเศรษฐกิจของประเทศ

เม็ดเงินลงทุน 1 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ หนึ่งในโครงการลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานที่ใหญ่ที่สุดของอินเดีย

รัฐบาลจัดตั้งหน่วยงาน Special Purpose Vehicle (SPV) เพื่อรับผิดชอบโดยเฉพาะ คือ Delhi-Mumbai Industrial Corridor Development Corporation Ltd.

รัฐบาลญี่ปุ่นสนับสนุนเงินลงทุนระยะแรก 4.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

Disclaimer : ข้อมูลต่างๆ ที่ปรากฏ เป็นข้อมูลที่ได้จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และการเผยแพร่ข้อมูลเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์ในการให้ข้อมูลแก่ผู้ที่สนใจเท่านั้น โดยธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทยจะไม่รับผิดชอบในความเสียหายใดๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากการที่มีบุคคลนำข้อมูลนี้ไปใช้ไม่ว่าโดยทางใด

ที่มา: ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย เดือนพฤศจิกายน 2561


แท็ก logistic   อินเดีย   GIS  

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ