ข้อมูลพื้นฐาน
Land Area 28.2 sq km Population (10) 567,957 Official Language Chinese, English GDP Growth (09) 1.3% GDP per Capita (10) 33,000 USD Export to World (10) 869 million USD Import from World (10) 5,514 million USD Inflation (10) 3.8% การส่งออก/นำเข้า
สินค้าที่ไทยส่งออกไปมาเก๊า article of apparel and clothing Rice, air conditioning machine&Part,
Travel goods,copper
สินค้าที่ไทยนำเข้าจากมาเก๊า other metal ore waste scrap Electrical machinery&part, stranded wire and
cable,chemical
ตลาดส่งออกสำคัญ สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป จีน ฮ่องกง ตลาดนำเข้าสำคัญ จีน ฮ่องกง ไต้หวัน สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น สหรัฐฯ Strength
1. เป็นเมืองเสรีทางการค้าและการเงิน
2. ประชากรมีรายได้ต่อหัวสูง รัฐบาลมีงบให้สวัสดิการมาก
3. กำลังพัฒนาประเทศไปสู่ด้านอื่นด้วยนอกจากคาสิโน
4. มีชายแดนติดต่อกับจีนแถบ PRD
5. เครือข่ายความสัมพันธ์มีส่วนสำคัญในการขยายธุรกิจ
6. มี สถานที่จัดTrade Fair/exhibition Center หลายแห่ง
Opportunity
1. CEPA มาเก๊า-จีน ทำให้การเคลื่อนย้ายสินค้า ทุน แรงงานเสรี
2. มีคู่แข่งในตลาดสินค้าไม่มาก เนื่องจากนำเข้าเองน้อย
3. เป็น Gateway to China โดยเฉพาะแถบ PRD
4. ผู้บริโภครู้จักประเทศไทย และสินค้าไทย เป็นอย่างดีโดยเฉพาะข้าวหอมมะลิ ผลไม้ในเขตร้อน
5. แต่ละปีมีนักท่องเที่ยวเข้าประเทศกว่า 10 ล้านคน
6. มีนโยบายยุติการผูกขาดเพิ่มแหล่งนำเข้าอาหารที่อื่นๆมากขึ้น
weakness
1. ประเทศเล็ก มีพื้นที่น้อย ประชากรน้อย
2. ภาพลักษณ์ของผู้มาเยือนยังเป็นเมืองคาสิโน
3. ไม่มีทรัพยากรธรรมชาติของตนเอง
4. สินค้าส่วนใหญ่สั่งซื้อผ่านฮ่องกง
Threat
1. การเติบโตของจีน โดยเฉพาะการพัฒนาเมืองใหญ่ๆ ของจีน ด้านต่างๆ เช่น จูไห่ เซินเจิน กวางโจว
2. คู่แข่งในธุรกิจคาสิโนจากประเทศในเอเซีย เช่น สิงคโปร์
3. นโยบายจีนที่จำกัดการอนุญาตให้คนจีนเข้ามาเที่ยวในมาเก๊า
4. การทำ FTA ระหว่างจีนกับประเทศอื่นๆ
ทิศทางการค้าของมาเก๊า
1. ส่งเสริมความหลากหลายทางเศรษฐกิจ
2.กระชับความร่วมมือทางเศรษฐกิจในกรอบ Pan Pearl River Delta
3. ส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมจัดประชุมและนิทรรศการ
4. ส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและย่อม
5. สร้างความแข่งแกร่งในบทบาทของมาเก๊าในการเป็นเวทีการค้าและเศรษฐกิจสู่ประเทศพูดภาษาโปรตุเกสของจีน
ยุทธศาสตร์การส่งออกไทยในมาเก๊า
พัฒนาการตลาดเชิงรุก ให้บริการการค้าเพิ่มศักยภาพการส่งออก สร้างมูลค่าเพิ่มปกป้องรักษาผลประโยชน์ทางการค้าโดยมีกลยุทธ์ดังนี้
1. สร้างภาพลักษณ์สินค้าและบริการไทยให้มั่นใจในคุณภาพและมาตรฐานสากล
2. ขยายความสัมพันธ์กับผู้ประกอบการในมาเก๊า โดยเฉพาะที่เป็น Sourcing สินค้า และธุรกิจแฟรนไชส์
3. ใช้ประโยชน์จากนโยบายส่งเสริม การจัด Fair & Exhibition, CEPA กับจีนแผ่นดินใหญ่ ยกเลิกการผูกขาดการนำเข้าสินค้า
4. ผลักดันการขยายตลาดสินค้าและบริการไทยผ่าน HTA และ สภาหอการค้ามาเก๊า-ไทย
5. ศึกษา วิเคราะห์ ติดตามและรายงานความเคลื่อนไหวของตลาดและสินค้าในมาเก๊า
6. ส่งเสริมผู้ประกอบการไทยในการทำธุรกิจในมาเก๊า(Offshore)
แผนกิจกรรมส่งเสริมการส่งออกประจำปีงบประมาณ 2554
1. จัดคณะผู้แทนการค้าเพื่อเยี่ยมชมงานแสดงสินค้าและแสวงหาสินค้าในไทย
2. ร่วมกิจกรรมจัดงานแสดงสินค้าไทยของ สภาหอการค้ามาเก๊า-ไทย
3. จัดส่งข้อมูลเอกสารเพื่อประชาสัมพันธ์สินค้าและกิจกรรมในประเทศไทย
4. อำนวยความสะดวกและแก้ไขปัญหาอุปสรรคในการส่งออกสินค้าไทยให้กับผู้ปะกอบการไทยในมาเก๊า
มูลค่าการค้าไทย-มาเก๊า
รายการ มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐ อัตราขยายตัว (%) 2551 2552 2553 2551 2552 2553 มูลค่าการค้า 35.42 20.79 30.99 76.43 -41.31 49.03 การส่งออกสินค้าไทย 27.91 15.01 22.05 72.61 -46.21 46.86 การนำเข้าสินค้ามาเก๊า 7.52 5.78 8.94 92.21 -23.10 54.68 ดุลการค้า 20.39 9.23 13.10
สคร. ณ เมืองฮ่องกง
ที่มา: http://www.depthai.go.th