เบลเยียมเป็นประเทศหนึ่งในกลุ่มประเทศเบเนลักซ์1 ซึ่งอยู่ในเขตดูแลของสำนักงานส่งเสริมการค้าระหว่าง ประเทศ ณ กรุงเฮก2 รวมทั้งเป็น Gateway สำคัญแห่งหนึ่งที่นำเข้าและกระจายสินค้าไทยไปสู่ประเทศสมาชิก สหภาพยุโรปและประเทศใกล้เคียง
รายงานนี้เป็นการรายงานข้อมูลการค้าช่วง 11 เดือน (มกราคม-พฤศจิกายน) ปี 2553 โดยแบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนที่ 1 เกี่ยวกับการค้าไทย-เบลเยียม และส่วนที่ 2 เป็นภาวะการแข่งขันของสินค้าไทยบางรายการในตลาด เบลเยียมช่วง 11 เดือน (มกราคม - พฤศจิกายน) ปี 2553
1. ภาวะการค้าไทย - เบลเยียม ในช่วง 11 เดือน (มกราคม - พศฤจิกายน) ปี 2553 ในภาพรวมเบลเยียม นำเข้าสินค้าไทยลดลงร้อยละ -3.43 3 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2552 ดังรายละเอียดต่อไปนี้
1.1 มูลค่าการค้ารวม 1,180.4 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ -3.43 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2552 (มูลค่า 1,222.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ)
1) การส่งออกของไทย - ในช่วงดังกล่าวมีมูลค่า 1,374.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ +14.30 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2552 (มูลค่า 1,202.7 ล้านเหรียญสหรัฐฯ) นับเป็นประเทศสมาชิกฯ ที่นำเข้าจากไทยสูง 1 ใน 7 ประเทศตามลำดับ ได้แก่ สวิสเซอร์แลนด์ อังกฤษ เนเธอร์แลนด์ เยอรมนี ฝรั่งเศส อิตาลีและเบลเยียม
2) การนำเข้าของไทย - ไทยนำเข้าสินค้าจากเบลเยียมมูลค่า 611.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ +9.31 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2552 (มูลค่า 559.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ)
3) ดุลการค้า - ไทยได้เปรียบดุลการค้ากับเบลเยียม มูลค่า 763.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ) ไทยได้ ดุลการค้าเพิ่มขึ้นร้อย 18.64 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปี 2552 (มูลค่า 643.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ)
(มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐฯ)
2552 2553 %
(ม.ค.-พ.ย.) (ม.ค.-พ.ย.) เพิ่ม/ลด
การค้ารวม 1,761.9 1,986.1 +12.72 ไทยส่งออก 1,202.7 1,374.8 +14.30 ไทยนำเข้า 559.2 611.3 +9.31 ดุลการค้า 643.5 763.5 +18.64
1.2 เมื่อเปรียบเทียบการส่งออกไทย-สหภาพยุโรป(EU 15) การส่งออกไปเบลเยียมมีส่วนแบ่งร้อยละ 4.96 ของการส่งออกรวมของไทยไปสหภาพยุโรป
ตารางที่ 2 : เปรียบเทียบการส่งออกไทย - สหภาพยุโรป (7 ประเทศแรกที่นำเข้าจากไทยมากที่สุด) ในช่วงดังกล่าว
ประเทศ มูลค่า(ล้าน USD) ส่วนแบ่ง (%) สหภาพยุโรป 12,324.1 100.00 สวิสเซอร์แลนด์ 4,777.8 38.76 เยอรมนี 4,299.9 34.89 อังกฤษ 1,791.4 14.53 อิตาลี 1,339.8 10.87 ฝรั่งเศส 1,334.6 10.82 เนเธอร์แลนด์ 859.5 6.97 เบลเยียม 611.3 4.96 รายการสินค้า 10 อันดับแรก
1)ภาพรวมสินค้าที่ไทยส่งออกไปเบลเยี่ยม - ได้แก่ อัญมณีและเครื่องประดับ เครื่องจักรกลและส่วนประกอบของเครื่อง เครื่องจักรกลไฟฟ้าและผลิตภัณฑ์ยาง
ตารางที่ 4 : รายการสินค้าที่ไทยส่งออกไปเบลเยี่ยม 10 อันดับแรกในช่วง 11 เดือน (มกราคม-พฤศจิกายน) ปี 2553
มูลค่า อัตรา
(ม.ค.-พ.ย. การขยายตัว
ลำดับ รายการสินค้า 2553) (%)
(ล้าน USD)
1. อัญมณีและเครื่องประดับ 269.8 11.87 2. เครื่องจักรกลและส่วนประกอบของเครื่อง 181.7 28.79 3. เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ 166.2 7.15 4. ผลิตภัณฑ์ยาง 126.6 44.14 5. รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ 82.9 5.75 6. เสื้อผ้าสำเร็จรูป 64.8 2.93 7. ผลิตภัณฑ์พลาสติก Plastic 51.1 129.51 8. กระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษ 39.8 -5.09 9. ปลาและอาหารทะเล Fish and Seafood 39.4 13.12 10. ผลิตภัณฑ์เภสัชภัณฑ์ 33.0 14.02 สินค้ารายการสำคัญที่ไทยส่งออก
เพิ่มขึ้น 10 อันดับแรก ได้แก่ อัญมณีและเครื่องประดับ (ร้อยละ 11.87) เครื่องจักรกลและส่วนประกอบของเครื่อง (ร้อยละ 28.79) เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ (ร้อยละ 7.15) ผลิตภัณฑ์ยาง (ร้อยละ 44.14) รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ (ร้อยละ 5.75) เสื้อผ้าสำเร็จรูป (ร้อยละ 2.93) ผลิตภัณฑ์พลาสติก (ร้อยละ 129.51) ปลาและอาหารทะเล (ร้อยละ 13.12) ผลิตภัณฑ์เภสัชภัณฑ์ (ร้อยละ 14.02) เสื้อผ้าจากการทอ (Woven Apparel) (ร้อยละ 12.26)
ลดลง 10 อันดับแรก ได้แก่ กระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษ (ร้อยละ -5.09) ข้าว (ร้อยละ -33.05) เนื้อสัตว์และเนื้อปลาแปรรูป (Prepared meat and fish) (ร้อยละ -2.32) อาหารแปรรูป (Preserved food) (ร้อยละ -11.83) รองเท้าและชิ้นส่วน (ร้อยละ -82.75) เส้นใยประดิษฐ์ (ร้อยละ -0.52) เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ (ร้อยละ -56.66) แก้วและกระจก (ร้อยละ -8.26) ไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ (ร้อยละ -54.00) สิ่งทออื่นๆ (Misc Textile Articles) (ร้อยละ -13.97)
ตารางที่ 5 : รายการสินค้า 3 หมวดสำคัญที่ไทยส่งออก 5 อันดับแรก
มูลค่า อัตราการ ลำดับ รายการสินค้า (ม.ค-พ.ย. 53) ขยายตัว(%)
(ล้าน USD) 1. หมวดสินค้าแร่ธาตุและสินค้าเกษตร
ข้าว 32.6 -33.05 ยางพารา 126.6 44.14 ปลาและอาหารทะเล 39.4 13.12 เนื้อสัตว์และเนื้อปลาแปรรูป 24.6 -2.32 ใบยาสูบ 15.5 18.17 2. หมวดสินค้าอุตสาหกรรม อัญมณีและเครื่องประดับ 269.8 11.87 เครื่องจักรกลและส่วนประกอบของเครื่อง 181.7 28.79 เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ 166.2 7.15 รถยนต์อุปกรณ์ และส่วนประกอบ 82.9 58.19 ส่วนประกอบอากาศยายและอุปกรณ์การบิน 24.5 85.47 3. หมวดสินค้าอื่นๆ เสื้อผ้าสำเร็จรูป 64.8 26.75 ผลิตภัณฑ์พลาสติก 51.1 129.51 กระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษ 39.8 -5.09 ผลิตภัณฑ์เภสัชภัณฑ์ 33.0 14.02 เสื้อผ้าจากการทอ 31.1 12.16 รายการสินค้าแร่ธาตุและเกษตรที่ส่งออก
เพิ่มขึ้น เช่น ยางพารา (ร้อยละ 44.14) ปลาและอาหารทะเล (ร้อยละ 13.12) ใบยาสูบ (ร้อยละ 18.17) ผลิตภัณฑ์เผื่อการอบ (Baking Related) (ร้อยละ 36.90) ข้าวมอลต์และแป้ง (ร้อยละ 313.04)
ลดลง เช่น ข้าว (ร้อยละ -33.05) เนื้อสัตว์และเนื้อปลาแปรรูป (ร้อยละ -2.32) อาหารอื่นๆ (Misc Food) (ร้อยละ -0.46) ผลิตภัณฑ์จากนม ไข่และน้ำผึ้ง (ร้อยละ -40.66) น้ำตาล (ร้อยละ -40.75)
เพิ่มขึ้น เช่น อัญมณีและเครื่องประดับ (ร้อยละ 11.87) เครื่องจักรกลและส่วนประกอบของเครื่อง (ร้อยละ 28.79) เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ (ร้อยละ 7.15) รถยนต์อุปกรณ์ และส่วนประกอบ (ร้อยละ 58.19) ส่วนประกอบอากาศยายและอุปกรณ์การบิน (ร้อยละ 85.47)
ลดลง เช่น เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ (ร้อยละ -56.66) แก้วและกระจก (ร้อยละ -8.26) ไม้และผลิตภัณฑ์ไม้ (ร้อยละ -54.00) แร่โลหะ (ร้อยละ-61.21) อินทรีย์เคมีภัณฑ์ (ร้อยละ -89.83)
เพิ่มขึ้น เช่น เสื้อผ้าสำเร็จรูป (ร้อยละ 26.75) ผลิตภัณฑ์พลาสติก (ร้อยละ 129.51) ผลิตภัณฑ์เภสัชภัณฑ์ (ร้อยละ 14.05) เสื้อผ้าจากการทอ (ร้อยละ 12.16) เฟอร์นิเจอร์และชิ้นส่วน (ร้อยละ 34.47)
ลดลง กระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษ (ร้อยละ -5.09) รองเท้าและชิ้นส่วน (ร้อยละ -82.75) สิ่งทออื่นๆ (Misc Textile Articles) (ร้อยละ -13.97) การฟอก ย้อมและสี (ร้อยละ -14.91) ร่มและไม้เท้า (ร้อยละ 75.57)
- ในช่วง 11 เดือน (มกราคม-พฤศจิกายน) ปี 2553 มูลค่ารวม 611.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ +9.31 เมื่อเทียบกับการนำเข้าในช่วงเดียวกัน ปี 2552 (มูลค่า 559.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ)
ผลิตภัณฑ์พลาสติก เครื่องเพชรพลอย อัญมณี เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ อินทรีย์เคมีภัณฑ์ เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ
ตารางที่ 6 : รายการสินค้าที่ไทยนำเข้าจากเบลเยียม 10 อันดับแรกในช่วง 11 เดือน (มกราคม-พฤศจิกายน) ปี 2553
มูลค่า อัตรา
(ม.ค.-พ.ย. การขยายตัว
ลำดับ รายการสินค้า 2553) (%)
(ล้าน USD)
1. ผลิตภัณฑ์พลาสติก 90.4 45.06 2. เครื่องเพชรพลอย อัญมณี 83.5 -37.51 3. เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ 68.8 64.98 4. อินทรีย์เคมีภัณฑ์ 52.4 3.49 5. เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ 51.6 -17.81 6. ผลิตภัณฑ์เวชกรรมและเภสัชกรรม 50.7 35.54 7. แก้วและกระจก 23.8 467.09 8. ยางพารา 20.2 28.56 9. เคมีภัณฑ์อื่นๆ 17.9 22.07 10. เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ 14.4 -42.80
2.ภาวะการแข่งขันของสินค้าไทย 5 รายการ (อันดับ 1-5 ) ในตลาดเบลเยียม ช่วง 11 เดือน (มกราคม-พฤศจิกายน) ปี 2553
สำนักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ กรุงเฮก
ที่มา: http://www.depthai.go.th