มาตรการที่มิใช่ภาษีของฟิลิปปินส์ที่มีผลกระทบต่อสินค้าไทย
สินค้า รายละเอียด การแก้ไขปัญหาของไทย ข้าว (1006) - ฟิลิปปินส์มีข้อผูกพันที่ทำไว้ภายใต้ WTO จะต้องเปิด กรมการค้าต่างประเทศได้ทำ MOA เพื่อให้เป็นไป ให้นำเข้าข้าวเสรีตั้งแต่ 1 มกราคม 2548 แต่ฟิลิปปินส์ ตามขบวนการซื้อขายข้าวแล้วเมื่อมิย. 53 ขณะนี้ ไม่ปฏิบัติตาม และขอต่ออายุการควบคุมการนำเข้าอีก 10 ปี อยู่ระหว่างการเจรจาต่อรองราคา - National Food Authority (NFA) เป็นผู้ควบคุมการ นำเข้า ตั้งแต่ปี 2546 มีการจัดสรรโควตาให้เกษตรกร นำเข้า แต่ปริมาณน้อยมาก ปัจจุบันมีการปรับให้เอกชน / สหกรณ์การเกษตรนำเข้ามากขึ้น - ฟิลิปปินส์ต้องลดอัตราภาษีนำเข้าลงเหลือร้อยละ 35 ในปี 2558 ปัจจุบันยังคงเก็บร้อยละ 40 - ไทยมี MOU ว่าฟิลิปปินส์ต้องนำเข้าข้าวจากไทย ปีละ 3.67 เมตริกตัน จนถึงปี 2557 โดยเป็นข้าวคุณภาพดี 5,000 ตัน แต่ฟิลิปปินส์ไม่สามารถปฏิบัติได้ น้ำตาล - ฟิลิปปินส์ขอคงรายการสินค้าน้ำตาลไว้ใน Sensitive List ภายใต้ AFTA ทำให้ภาษีนำเข้าสูง ทั้งนี้ ตั้งแต่ มกราคม 2549 อัตราภาษีลดลงเหลือร้อยละ 38 และจะลดลงในอัตรา progressive จนถึงปี 2558 จะเหลือร้อยละ 5 ผักและผลไม้ - ห้ามนำเข้าผักและผลไม้สดจากประเทศเขตร้อน เพื่อ ขณะนี้ กษ. นำวิธีการอบไอน้ำเพื่อกำจัดแมลงวัน ควบคุมการป้องการแพร่ระบาดโรคแมลงและโรคพืชที่ ผลไม้มาใช้ ซึ่งเป็นข้อต่อรองการเจรจาได้ ติดมากับผลไม้ ขณะนี้ อนุญาตให้นำเข้าเฉพาะมะขาม หวาน ลองกอง อย่างไรก็ดี มีการนำเข้าผลไม้ไทยหลาย ชนิด เช่น ลำใย ลิ้นจี่ ผ่านไต้หวัน ไก่สดและไก่ ต้องผ่านการตรวจรับรองโรงงาน โดย The National สคต.มะนิลาและกรมปศุสัตว์ไทยได้เชิญหน่วยงาน แช่แข็ง Inspection และได้รับอนุญาตให้นำเข้าจาก The Bureau The National Inspection ฟิลิปปินส์ เดินทางไป เนื้อวัวสด of Animals Industry ตรวจสอบโรงงานแปรรูปไก่ และโรงเลี้ยงไก่ในปี และแช่เย็น 2553 ปัจจุบันรอผลพิจารณาจากฟิลิปปินส์ เนื้อสุกร และผลิตภัณฑ์ สินค้าอิเล็กทรอ ต้องขออนุญาตการนำเข้า โดยได้รับอนุญาตจาก นิกส์อุปกรณ์และ Philippine National Products ส่วนประกอบ Standards
สินค้า (HS) รายละเอียด การแก้ไขปัญหาของไทย ยาและเคมีภัณฑ์ - มาตรการควบคุมการนำเข้า โดยจะต้องได้รับการ ตรวจสอบเพื่อขอ Certification of Product Registration จาก Bureau of Food and Drug ก่อน จึงจะนำเข้าได้ - ต้องมีเภสัชกรประจำสำนักงานผู้นำเข้าด้วย แม้จะไม่มี การจำหน่าย ทำให้ค่าใช้จ่ายสูง รถจักรยานยนต์ อะไหล่ และส่วนประกอบ ต้องขออนุญาตการนำเข้าโดยต้องได้รับอนุญาตจาก Department of Trade & Industry, Board of Investment และ The Bureau of Import Service อาหารคนและอาหารสัตว์ ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2546 ผู้นำเข้าผลิตภัณฑ์ที่มี GMO เจือปนต้องแจ้งรายละเอียดของ GMO เครื่องปรับอากาศ มาตรฐานสินค้า กำหนด Minimum Efficiency Standard เกี่ยวกับการใช้พลังงานควบคุมการนำเข้า ต้องได้รับอนุญาต นำเข้าและมาตรฐานสินค้าจากสำนักงานมาตรฐานสินค้า (Philippine National Product Standards) เพื่อคุ้มครอง ผู้บริโภคและตลาดในประเทศ รถยนต์และส่วนประกอบ ควบคุมการนำเข้า ต้องได้รับใบอนุญาตจากหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง เช่น The Department of Investment และ The Bureau of Export Service อุปกรณ์การแพทย์ ต้องมีใบตรวจสอบคุณภาพสินค้า สินค้าปืนเด็กเล่น ห้ามนำเข้าสินค้าประเภทปืนเด็กเล่น กระจก ใช้มาตรการปกป้อง (Safeguard Measure) ตั้งแต่ปี 2546 กระเบื้องปูพื้น กระเบื้องบุผนัง ใช้มาตรการปกป้อง (Safeguard Measure) ตั้งแต่พฤศจิกายน 2545 ซึ่งจะสิ้นสุดในปี 2555 ปัจจุบันเก็บในอัตรา 1.86 เปโซ ต่อกิโลกรัม ปัจจุบันบริษัทของไทยมาลงทุนร่วมกับฟิลิปปินส์ในรูปแบบ joint venture กระดาษลูกฟูก(Testliner Boards) ใช้มาตรการปกป้อง (Safeguard Measure) ตั้งแต่กค. 2553 เป็นเวลา 3 ปี ปัจจุบันเก็บในอัตรา 1,274.90 เปโซ/ เมตริกตัน และจะลดเหลือ 1,211.50 เปโซ/เมตริกตัน ตั้งแต่มิย. 2555 — มิย. 2556
สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ กรุงมะนิลา
พฤษภาคม 2555