สรุปภาวะตลาดสินค้าอัญมณีและเครื่องประดับของไทยในเยอรมนีเดือนพฤษภาคม 2555
(ล้านยูโร) 2552 2553 2554 2555 อัตราขยายตัว (%)
(ม.ค.-เม.ย.) - เครื่องประดับ/ของใช้
ทำด้วยโลหะมีค่า 316.5 330.1 416.0 111.7 -12.8 - ในประเทศ 211.3 214.0 228.0 73.5 + 8.8 - ต่างประเทศ 105.2 116.1 188.0 38.2 -36.9 - เครื่องประดับเทียม 33.7 22.0 24.3 - -* - -* - ในประเทศ - -* - -* - -* - -* - ต่างประเทศ - -* - -* - -* - -* ที่มา: สนง. สถิติแห่งชาติ เยอรมนี 1 เฉพาะกิจการที่มีคนงานเกิน 50 คน
-* ปกปิดเนื่องจากมีจำนวนผู้ประกอบการน้อย
2. แหล่งนำเข้า 2552 2553 2554 2555 อัตราขยายตัว (%) (ล้านเหรียญสหรัฐ) (ม.ค.-มี.ค.) รวมนำเข้าทั้งสิ้น 10,807 14,926 19,342 4,370 +7.1 - สวิส 2,342 3,182 3,986 996 +94.2 - แอฟริกาใต้ 1,006 1,380 2,037 349 -26.4 - สหรัฐฯ 703 993 1,233 337 +2.51 - ออสเตรีย 821 1,126 1,613 318 +21.3 - เบลเยี่ยม 692 961 1,160 222 -17.3 - ไทย 279 242 334 90.3 +23.5 3. ตลาดส่งออก รวมส่งออกทั้งสิ้น 8,904 13,779 18,949 4,506 +14.5 - สวิส 2,741 4,659 6,402 1,643 +42.6 - สหราชอาณาจักร 1,080 2,013 2,813 656 +23.9 - เบลเยี่ยม 798 1,024 1,394 325 + 8.2 - สหรัฐฯ 626 1,199 1,546 313 -23.2 - ออสเตรีย 564 625 1,288 279 - 5.5 - ฝรั่งเศส 484 726 1,008 278 + 3.9 - จีน 134 243 332 63 -47.6 - ไทย 84 175 150 46 -3.4 ที่มา: GTI, World Trade Atlas 1. การผลิตและยอดการจำหน่าย
หนี้สาธารณะของประเทศอื่นๆ ในยูโรโซนยังคงเป็นปัญหาที่ทำให้ยอดการส่งออกเครื่องประดับและอัญมณีของเยอรมนีมีมูลค่าลดลงมาก และปัจจุบันสเปนเป็นอีกประเทศหนึ่งที่ได้ขอความช่วยเหลือและได้ขอกู้เงินประมาณ 100,000 ล้านยูโรจากกองทุนฯ แลัว ทำให้ยอดการจำหน่ายเครื่องประดับและของใช้ทำด้วยโลหะมีค่าในประเทศเพิ่มขึ้น เพราะเกรงว่าค่าเงินยูโรจะอ่อนลง ในขณะที่การจำหน่ายไปยังต่างประเทศมีมูลค่าลดลง โดยในช่วง 4 เดือนแรกปี 2555 นี้ มียอดการจำหน่ายเครื่องประดับมีค่าเป็นมูลค่าทั้งสิ้น 111.7 ล้านยูโร ลดลงร้อยละ 12.8 เป็นการจำหน่ายในประเทศมูลค่า 73.5 ล้านยูโรเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.8 และจำหน่ายไปยังต่างประเทศมูลค่า 38.2 ล้านยูโร ลดลงร้อยละ 36.9
เยอรมนีนำเข้าสินค้าเครื่องประดับแท้และเทียมเป็นมูลค่าโดยเฉลี่ยปีละ 15,000 ล้านเหรียญสหรัฐ แหล่งนำเข้าที่สำคัญๆ จะเป็นประเทศอื่นๆ ในยุโรป ที่มีส่วนแบ่งตลาดรวมกันกว่าร้อยละ 60 ได้แก่ ออสเตรีย สวิส เบลเยี่ยม และฝรั่งเศส สินค้าที่นำเข้ากว่าร้อยละ 50 จะเป็นโลหะมีค่า ได้แก่ ทองคำ พลาตินัม และอัญมณีมีค่า เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมการผลิตในประเทศ โดยมีการนำเข้ามากจาก แอฟริกาใต้ เบลเยี่ยม อังกฤษ เป็นต้น มีส่วนแบ่งตลาดใกล้เคียงกันประมาณร้อยละ 10 สำหรับเครื่องประดับแท้ทำด้วยเงินมีส่วนแบ่งร้อยละ 5 ของการนำเข้า แหล่งนำเข้าสำคัญๆ ได้แก่ ไทย จีน เดนมาร์ก และอิตาลี มีส่วนแบ่งตลาดร้อยละ 35, 25, 10 และ 5 ตามลำดับ ส่วนเครื่องประดับเทียม มีส่วนแบ่งร้อยละ 4 แหล่งนำเข้าสำคัญๆ ได้แก่ จีน ออสเตรีย และฮ่องกง มีส่วนแบ่งตลาดร้อยละ 50, 20 และ 3 ตามลำดับ
ในช่วง 5 เดือนแรกปี 2555 ไทยส่งออกอัญมณีและเครื่องประดับไปเยอรมนีเป็นมูลค่า 153.4 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือร้อยละ 10.16 ของการส่งออกสินค้าไทยไปเยอรมนี มูลค่าเพิ่มขึ้นจากปีก่อนระยะเดียวกันร้อยละ 38.13 สินค้าส่งออกสำคัญของไทยจะเป็น เครื่องประดับแท้ ส่งออกเป็นมูลค่า 123.1 ล้านเหรียญสหรัฐหรือร้อยละ 80.2 ของการส่งออกอัญมณีและเครื่องประดับทั้งสิ้นไปเยอรมนี มูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 52.13 โดยเป็น เครื่องประดับอัญมณีแท้ทำด้วยเงิน มูลค่า 85.6 ล้านเหรียญสหรัฐเพิ่มขึ้นร้อยละ 68.1 ไทย มีส่วนแบ่งสูงสุดในเยอรมนีร้อยละ 46 รองลงมา คือ จีน อินเดีย และเดนมาร์ก มีส่วนแบ่งตลาดร้อยละ 24, 7 และ 6 ตามลำดับ รองลงมาเป็น เครื่องประดับอัญมณีเทียม ไทยส่งออกไปเยอรมนีเป็นมูลค่า 32.4 ล้านเหรียญสหรัฐ มูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.1 คิดเป็นส่วนแบ่งในตลาดเยอรมนีร้อยละ 2.7 คู่แข่งสำคัญ ได้แก่ จีน ออสเตรีย และฝรั่งเศส มีส่วนแบ่งตลาดร้อยละ 53, 19 และ 3 ตามลำดับ อัญมณีมีค่า ส่วนใหญ่จะเป็นพลอยสีมีค่า ไทยส่งออกไปเยอรมนีมูลค่า 4.1 ล้านเหรียญสหรัฐ มูลค่าลดลงร้อยละ 4.2 คิดเป็นส่วนแบ่งในตลาดเยอรมนีร้อยละ 6 แหล่งนำเข้าสำคัญ ได้แก่ เบลเยี่ยม อินเดีย และอิสราเอล มีส่วนแบ่งตลาดร้อยละ 21, 16 และ 10 ตามลำดับ
โครงสร้างการส่งออกอัญมณีและเครื่องประดับของไทยไปเยอรมนี ปี 2552 - 2555 (ม.ค.-มี.ค.)
มูลค่า : ล้านเหรียญ อัตราขยายตัว (%) สัดส่วน (%) ชื่อสินค้า 2552 2553 2554 2555 2552 2553 2554 2555 2552 2553 2554 2555 (ม.ค.-พ.ค.) (ม.ค.-พ.ค.) (ม.ค.-พ.ค.) อัญมณีและเครื่องประดับ 193.62 33.7 286.8 153.4 -3.82 20.66 22.73 38.13 7.37 7.08 7.62 10.16 1 เครื่องประดับแท้ 152.31 79.72 02.11 23.1 -0.29 17.94 12.47 52.13 78.67 76.89 70.47 80.22 (1) ทำด้วยเงิน 91.81 09.21 27.2 85.61 2.95 18.94 16.48 68.09 60.26 60.77 62.93 69.60 (2) ทำด้วยทอง 53.1 40.14 3.7 19.8 -17.34 -24.37 8.80 16.73 34.83 22.33 21.60 16.08 (3) ทำด้วยโลหะมีค่าอื่น ๆ 7.5 30.4 31.21 7.6 2.24 306.04 2.92 35.74 4.91 16.89 15.46 14.32 2 เครื่องประดับอัญมณีเทียม 10.0 10.8 32.4 11.8 3.97 7.42 201.0 5.08 5.17 4.61 11.30 7.71 3 ทองคำยังไม่ได้ขึ้นรูป 13.3 19.8 20.1 7.3 -27.41 48.67 1.70 10.45 6.88 8.47 7.02 4.75 4 โลหะมีค่า ของที่หุ้มด้วยโลหะมีค่าอื่น ๆ 5.8 8.7 11.5 7.0 -39.13 51.39 31.48 66.12 2.98 3.74 4.01 4.56 5 อัญมณี 9.3 9.6 11.6 4.12 5.01 2.60 20.86 -4.18 4.81 4.09 4.03 2.70 (1) พลอย 7.4 8.7 11.2 4.1 3.20 17.27 29.36 -4.16 79.20 90.52 96.88 98.01 (2) เพชร 1.9 0.9 0.3 0.07 29.66 -52.66 -69.04 -49.08 20.35 9.39 2.40 1.07 (3) ไข่มุก 0.0 0.0 0.1 0.0 -42.47 -78.74 80989 7580.0 0.46 0.10 0.72 0.93 6 อัญมณีสังเคราะห์ 2.9 5.1 9.1 0.1 -20.68 77.61 77.73 -97.07 1.49 2.19 3.17 0.07 ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร