ดัชนีชี้วัด 2549 2550 2551 2552 คาดการณ์ Population Domestic Products(Million) 6.81 6.86 6.93 6.99 a GDP($US Billion) 177.3 189.2 207.2 220.7-222.7 b Real GDP Growth(%) 7.1 7.0 6.4 +5.8 c GDP per Capital(US$) 26,000 27,600 29,900 31,500-31,800 b อัตราเงินเฟ้อ(inflation)(%) 3.4 2.0 4.3 4.0 อัตราการว่างงาน(Unemployment Rate) (%) 5.6 4.0 3.5 4.1 A 2008, b government forecast for 2008, c year-on-year change in January-June 2008; d year-on-year change in January-July 2008; e May-July 2008 แหล่งที่มา : Hong Kong Trade Development Council
ในช่วงปี 2551 การค้าระหว่างฮ่องกงกับต่างประเทศ มีมูลค่าการค้ารวม 7,499 ล้านเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันร้อยละ 5.3 แต่การส่งออกของฮ่องกงในช่วงปี 2551(ม.ค.- ธ.ค.) เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.1 เมื่อเทียบกับเดือนปีก่อน โดยที่สินค้าส่งออกของฮ่องกงส่วนใหญ่เป็นสินค้าที่ผลิตในจีน ซึ่งได้รับผลกระทบจากค่าของเงินหยวนและกฎหมายแรงงานฉบับใหม่ จึงทำให้สินค้ามีราคาแพง และส่งผลกระทบต่อมูลค่าการส่งออกของฮ่องกง การนำเข้า 387.8 ล้านเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.5 ขาดดุลการค้า 257.8 ล้านเหรียญสหรัฐ
รายการ มูลค่า(ล้านเหรียญสรอ.) อัตราการขยายตัว 2550 2551 (%) 1. มูลค่าการค้า 7122.4 7499.2 5.3 2. การส่งออก 3445.5 3620.7 5.1 3. การนำเข้า 3676.9 3878.5 5.5 เศรษฐกิจของฮ่องกงต้องเผชิญปัญหาการตกต่ำในด้านเศรษฐกิจและการว่างงาน ซึ่ง
สภานิติบัญญัติเห็นว่ารัฐบาลฮ่องกงไม่สามารถที่จะช่วยผู้ตกงานได้เพียงพอ รัฐบาลฮ่องกงเปิดเผยว่า วิกฤตการณ์การเงินโลกที่เริ่มต้นในเดือนกันยายน 2551 ได้ส่งผลกระทบต่อตลาดแรงงานของฮ่องกงอย่างรุนแรง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคอุตสาหกรรมค้าปลีก ภาคการขนส่งและการนำเข้า/ส่งออก ภาคธุรกิจโรงแรม และภาคธุรกิจคลังสินค้า จากสถิติพบว่า อัตราการจ้างงานต่ำระดับ (underemployment) ในเดือนตุลาคม 2551 อยู่ในระดับร้อยละ 1.7 ลดลงจากร้อยละ 1.8 ในเดือนกันยายนที่ผ่านมา โดยภาคอุตสาหกรรมที่มีการปรับลดของอัตราการจ้างงานต่ำระดับมากที่สุด ได้แก่ ภาคอุตสาหกรรมก่อสร้าง และภาคธุรกิจบริการสันทนาการและความบันเทิง
2549 2550 2551 US$ billion Growth US$ billion Growth US$ billion Growth Total Export 315.5 9.4 344.6 9.2 335.7 5.1 Domestic Export 17.2 -1.1 14.0 -18.9 11.6 -16.8 Re-Export 298.3 10.0 330.6 10.8 350.4 6 .0 Imports 333.3 11.6 367.7 10.3 387.9 5.5 Total Trade 648.8 10.5 712.2 9.8 749.9 5.3 Trade Balance -17.8 N/A -23.1 N/A -25.8 N/A ตัวเลขภาคบริการ 2549 2550 2551(ม.ค.-ก.ย.) US$ billion Growth US$ billion Growth US$ billion Growth Export 72.4 14.1 83.6 15.4 67.5 12.2 Imports 36.9 9.0 41.2 11.7 33.2 9.9 Total Trade 109.4 12.3 124.8 14.1 100.7 11.4 Trade Balance 35.5 N/A 42.3 N/A 34.4 N/A
ฮ่องกงนับเป็นเศรษฐกิจที่มีการค้าขายมากเป็นอันดับที่ 13 ของโลก(13th largest trading economy) โดยมีมูลค่าการค้ารวมในปี 2551(ม.ค.-ธ.ค.) มูลค่า 749.9 พันล้านเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.3 เปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมาในช่วงเดียวกัน การส่งออกของฮ่องกงในปี 2551 มีอัตราการเจริญเติบโตลดลง ร้อยละ 11.4 ช่วงเดือน ธ.ค. 51 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2550) โดยมีอัตราการเจริญเติบโตของทั้งปี พ.ศ. 2551 เพียงร้อยละ 5.1 ซึ่งนับว่าต่ำที่สุดตั้งแต่ปี 2544 ทั้งนี้ นักเศรษฐศาสตร์คาดการณ์ว่าการส่งออกของฮ่องกงจะลดลงอีกในปีนี้ (2552) โดยมีสาเหตุมาจากเศรษฐกิจโลกตกต่ำ และการแข่งค่าของเงินหยวน นอกจากนี้ การนำเข้าของฮ่องกงก็มีอัตราลดลงเช่นกันในช่วงเดือนธันวาคม 51 (ร้อยละ 16.2 เทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2550) ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงการบริโภคที่ลดลงของฮ่องกง
การส่งออก ช่วงปี 2551 ฮ่องกงมีการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 6.4 ยอดการส่งออกปี 2551 มูลค่า 335.7 พันล้านเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.1 ประเทศที่ฮ่องกงส่งออกมากที่สุด ได้แก่ จีน สหภาพยุโรป และญี่ปุ่น คิดเป็นสัดส่วน 49%, 13% และ 12% ตามลำดับการนำเข้า ช่วงปี 2551(ม.ค.-ธ.ค.) ฮ่องกงมีการนำเข้ามูลค่า 387.9 พันล้านเหรียญสหรัฐ คิดเป็นอัตราร้อยละ 5.5%
การขาดดุล ปี 2551(ม.ค.-ธ.ค.) มูลค่า 25.8 พันล้านเหรียญสหรัฐเมื่อเปรียบกับปี 2550 มีมูลค่าการนำเข้า 23.1 พันล้านเหรียญฯ หรือ 6.3%
- ฮ่องกงเป็นที่ Gateway ที่สำคัญของจีน
- ฮ่องกงมีการลงทุนในจีนมากที่สุด
- ศูนย์กลางการลงทุนนอกฝั่งที่สำคัญของจีน
- จีนถือฮ่องกงเป็นแหล่งการลงทุนภายนอกใหญ่อันดับสอง
ได้แก่ สถาบันการเงิน 6 ธนาคารและตัวเทนบริษัท 8 บริษัท ธนาคารใหญ่ๆ ได้แก่ Bank of China, Industrial and Commercial Bank of China, Agricultural Bank of China and China Construction Bank ที่มีสาขาดำเนินธุรกิจธนาคารในฮ่องกง และมีตัวแทนสำนักงานของธนาคารจากจีน ได้แก่ Shenzhen Development Bank, China Everbright Bank and Shanghai Pudong Development Bank
ฮ่องกงยังเป็นศูนย์รวมแหล่งการลงทุนสำหรับบริษัทจีน โดยในปี 2550 มีจำนวน 439 บริษัทตั้งอยู่ในฮ่องกง ประกอบด้วย H-Share, red-chip และบริษัทเอกชน คิดเป็นการลงทุนยอดรวมมูลค่า 1,544 พันเหรียญสหรัฐ คิดเป็นสัดส่วน 58%
2.1 สาธารณรัฐประชาชนจีน มีมูลค่าการค้ารวม 356,562 ล้านเหรียญสรอ. เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.4 จากระยะเวลาเดียวกันของปีก่อน โดยจีน เป็นฝ่ายเกินดุลการค้า 52 ล้านเหรียญสรอ.
2.2 สหรัฐอเมริกา มีมูลค่าการค้ารวม 653,84 ล้านเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.6 จากระยะเวลาเดียวกันของปีก่อน โดยฮ่องกงเป็นฝ่ายเกินดุลการค้า 27 ล้านเหรียญสหรัฐ
2.3 ญี่ปุ่นมีมูลค่าการค้ารวม 53,654 ล้านเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.9 จากระยะเวลาเดียวกันของปีก่อน โดยญี่ปุ่น เป็นฝ่ายเกินดุลการค้า 23 ล้านเหรียญสหรัฐ
2.4 สิงค์โปร์มีมูลค่าการค้ารวม 32,085 ล้านเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.1 จากระยะเวลาเดียวกันของปีก่อน โดย สิงค์โปร์เป็นฝ่ายเกินดุลการค้า 17 ล้านเหรียญสหรัฐ
2.5 ไต้หวันมีมูลค่าการค้ารวม 31,665 ล้านเหรียญสหรัฐ ลดลงร้อยละ 4.3 จากระยะเวลาเดียวกันของปีก่อน โดยไต้หวันเป็นฝ่ายเกินดุลการค้า 17 ล้านเหรียญสหรัฐ
2.6 เกาหลีมีมูลค่าการค้ารวม 21,493 ล้านเหรียญสหรัฐ ลดลงร้อยละ 2.7 จากระยะเวลาเดียวกันของปีก่อน โดยเกาหลีเป็นฝ่ายเกินดุลการค้า 9 ล้านเหรียญสหรัฐ
2.7 เยอรมันมีมูลค่าการค้ารวม 18,895 ล้านเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้นร้อยละ 14.1 จากระยะเวลาเดียวกันของปีก่อน โดยฮ่องกงเป็นฝ่ายเกินดุลการค้า 6 ล้านเหรียญสหรัฐ
2.8 สหราชอาณาจักร มีมูลค่าการค้ารวม 14,542 ล้านเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.9 จากระยะเวลาเดียวกันของปีก่อน โดยฮ่องกงเป็นฝ่ายเกินดุลการค้า 5 ล้านเหรียญสหรัฐ
2.9 อินเดียมีมูลค่าการค้ารวม 14,130 ล้านเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้นร้อยละ 33.5 จากระยะเวลาเดียวกันของปีก่อน โดยอินเดียเป็นฝ่ายเกินดุลการค้า 1 ล้านเหรียญสหรัฐ
2.10 ไทย มีมูลค่าการค้ารวม 12,222 ล้านเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.6 จากระยะเวลาเดียวกันของปีก่อน โดยไทยเป็นฝ่ายเกินดุลการค้า 4 ล้านเหรียญสหรัฐ
ฮ่องกงนำเข้าและส่งออกไปยังคู่ค้าต่างๆ เรียงตามลำดับมูลค่า( 5 อันดับแรก) ได้แก่
3.1 ประเทศนำเข้าสินค้าสำคัญของฮ่องกง
3.1.1 สาธาณรัฐประชาชนจีน มูลค่า 180,863 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 6.1
3.2.2 ญี่ปุ่น มูลค่า 38,148 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.6
3.2.3 สิงค์โปร์ มูลค่า 24,994 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.1
3.24 ไต้หวัน มูลค่า 24,621 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ 6.4
3.25 สหรัฐฯ มูลค่า 19,325 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.6
3.2 ประเทศส่งออกสินค้าสำคัญของฮ่องกง
3.2.1 สาธารณรัฐประชาชนจีนมูลค่า 362,071 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.1
3.2.2 สหรัฐอเมริกา มูลค่า 175,698 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.7
3.2.3 ญี่ปุ่น มูลค่า 15,507 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.2
3.2.4 เยอรมันนี มูลค่า 12,044 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.8
3.2.5 สหราชอาณาจักร มูลค่า 9,665 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.7
มูลค่า ปี 2549 ปี 2550 ปี 2551 (ล้านดอลลาร์สหรัฐ) มูลค่าการนำเข้า 1,540.62 1,441.19 1,948.41 มูลค่าการส่งออก 7,166.74 8,694.76 10,046.27 มูลค่าการค้าโดยรวม 8,707.35 10,135.95 11,994.67 มูลค่าการขาดดุลการค้า 5,626.12 7,253.57 7,253.57
ไทยเป็นคู่ค้าอันดับ 10 ของฮ่องกง โดยที่ฮ่องกงเป็นตลาดส่งออกที่สำคัญลำดับที่ 5 ของไทยโดยสินค้าที่ไทยส่งออกมาฮ่องกงในปี 2551 มีมูลค่า 10,046 ล้านเหรียญสหรัฐ และไทยนำเข้าจากฮ่องกงมูลค่า 1,948 ล้านเหรียญสหรัฐ ขยายตัวร้อยละ 35.19 รวมมูลค่าการค้ารวม 11,994 ล้านเหรียญสหรัฐ ขยายตัว 18.34 โดยไทยได้ดุลการค้า 8,097.86 ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยแบ่งเป็นสินค้าที่ฮ่องกงนำเข้าจากไทย 10 อันดับแรก
4.1.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ
มูลค่าการส่งออก 1881.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.82
4.1.2 อัญมณีและเครื่องประดับ
มูลค่าการส่งออก 1527.4 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 70.14
4.1.3 แผงวงจรไฟฟ้า
มูลค่าการส่งออก 1336.7 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.88
4.1.4 หนังสือและสิ่งพิมพ์
มูลค่าการส่งออก 1095.9 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 107
4.1.5 เม็ดพลาสติก
มูลค่าการส่งออก 651.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวลดลงร้อยละ 8.58
4.1.6 เครื่องใช้ไฟฟ้าและส่วนประกอบอื่นๆ
มูลค่าการส่งออก 264.9 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.63
4.1.7 ข้าว
มูลค่าการส่งออก 220.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 34.56
4.1.8 ผลิตภัณฑ์ยาง
มูลค่าการส่งออก 177.4 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 20.53
4.1.9 น้ำมันสำเร็จรูป
มูลค่าการส่งออก 160 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 293
4.1.10 อุปกรณ์กึ่งตัวนำทรานซิสเตอร์และไดโอด
มูลค่าการส่งออก 155.5 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวลดลงร้อยละ 14.21
4.2.1 เครื่องเพชร พลอย อัญมณี เงินแท่งและทองคำ
มูลค่าการส่งออก 747.4 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 183.11
4.2.2 เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ
มูลค่าการส่งออก 230.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 50.92
4.2.3 เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ
มูลค่าการส่งออก 146 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวลดลงร้อยละ 1.25
4.2.4 ผ้าผืน
มูลค่าการส่งออก 99.9 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวลดลงร้อยละ 10.65
4.2.5 สินแรโลหะอื่นๆ เศษโลหะและผลิตภัณฑ์
มูลค่าการส่งออก 80.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 80.63
4.2.6 เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน
มูลค่าการส่งออก 66.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 175.35
4.2.7 เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ
มูลค่าการส่งออก 64.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 28.04
4.2.8 วรจรพิมพ์
มูลค่าการส่งออก 54.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวลดลงร้อยละ 22.87
4.2.9 นาฬิกาและส่วนประกอบ
มูลค่าการส่งออก 48.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวลดลงร้อยละ 3.31
4.2.10 แผงวงจรไฟฟ้า
มูลค่าการส่งออก 43.6 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวลดลงร้อยละ 43.05
- การส่งออกเจาะตลาดเชิงรุกโดยใช้ฮ่องกงเป็นประตูการค้าเข้าสู่จีนและออกจากจีน เนื่องจากการ Re-export ออกไปสหรัฐฯ มีอัตราขยายตัวลดลง แต่การค้ากับจีนยังคงมีการขยายตัวต่อเนื่องดังนั้น ควรใช้จีนเป็นตลาดรองรับกับมูลค่าการส่งออกที่หายไปของสหรัฐฯ เจาะกลุ่มผู้ซื้อที่เป็น Regional Buying Office ของฮ่องกง ที่มีเครือข่ายในจีนและประเทศอื่นๆ
- สนับสนุนให้ผู้ส่งออกเข้าร่วมงานแสดงสินค้าสำหรับสินค้าหลักของไทยในฮ่องกงและมาเก๊าเพิ่มขึ้น ซึ่งมีโอกาสได้พบผู้นำเข้า (Buyer) ที่มีศักยภาพและมีอำนาจสั่งซื้อทันที
- ผู้ส่งออกสินค้าและสินค้าบริการควรใช้โอกาสการขยายตัวของมาเก๊าที่กำลังมีการก่อสร้าง โรงแรมและคาสิโนขนาดใหญ่หลายแห่ง เจาะตลาดสินค้าอุปโภคบริโภครวมถึงสินค้าบริการจากจำนวนนักท่องเที่ยวกว่าปีละ 22 ล้านคน ผ่านงาน Made in Thailand Exhibition ณ เมืองมาเก๊า เดือนมิถุนายน 2552
- รักษาจำนวนและเพิ่มการเข้าร่วมงานแสดงสินค้าที่มีศักยภาพในฮ่องกงและมาเก๊า
- เพิ่มการร่วมลงทุนกับคู่ค้ารายใหญ่(Mainstream) ที่มีเครือข่าย(Networking) ในจีนให้กับนักธุรกิจ/ผู้ส่งออกไทย
- เพิ่มจำนวนร้านอาหารไทยและธุรกิจสปาในภาคบริการ รวมถึงการส่งเสริมกิจกรรมและ ส่งเสริมการขาย(Instore Promotion) ให้ต่อเนื่องเพื่อรักษาและเพิ่มมูลค่าการส่งออก
- สำรวจตลาด จัดทำรายงานความเคลื่อนไหวตลาด ข้อมูลประกอบ กฎระเบียบและพิธีการศุลกากร เผยแพร่กับภาคเอกชนอย่างต่อเนื่อง
คาดการณ์การส่งออกไทยมายังฮ่องกง ในปี 2552 คาดว่ามี มูลค่า 10,548 ล้านเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 โดยคาดว่าสินค้าส่งออกหลัก สินค้าส่งออกหลัก สินค้าอุตสาหกรรม และเกษตรกรรมได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์ อัญมณีเครื่องประดับ อุปกรณ์และส่วนประกอบ แผงวงจรไฟฟ้า เม็ดพลาสติก เครื่องใช้ ไฟฟ้า ข้าว ผลิตภัณฑ์ยาง หนังและผลิตภัณฑ์หนังฟอก หนังอัด เคมีภัณฑ์ เลนส์ เหล็ก และผลไม้ โดยสินค้าที่มีศักยภาพของไทย ได้แก่ ข้าว อัญมณีและเครื่องประดับ ผลไม้สด ยางพารา ผลิตภัณฑ์ยาง กุ้ง ไข่ไก่
Description Duration Hong Kong Toys & Games Fair 5-8 ม.ค. 52 Hong Kong Stationery Fair 5-8 ม.ค. 52 World Boutique 12-15 ม.ค. 52 Filmart 23-26 มีค. 52 APLF Part 1 Fashion Access 31 มีค. — 2 เมย. 52 APLF Part II Raw Material 31 มีค. — 2 เมย. 52 HK Mode Lingeria 7-8 เมย. 52 HK Printing Fair 27-30 เมย. 52 Hofex 6-9 พ.ค. 52 Hong Kong Jewellry Fair 18-21 มิย.52 Summer Sourcing Fair 6-9 ก.ค. 52 Mega Show Part I , Hong Kong 20-23 ต.ค. 52 Cosmoprof Asia, Hong Kong 11-13 พ.ย. 52 งาน Thailand Exhibition Description Duration Made in Thailand Exhibition in Macao 22-28 มิย. 52 การส่งเสริมการขายร่วมกับห้างสรรพสินค้า/ซุปเปอร์มาเก็ต (Instore Promotion) Description Duration โครงการเทศกาลไทยร่วมกับห้าง Jusco 12-24 พ.ค. 52 โครงการเทศกาลไทยร่วมกับห้าง City Super มิย. — ก.ค. 52 คณะผู้แทนการค้าเยือนประเทศไทย Description Duration คณะ Sourcing Trip ห้าง Jusco 16-20 ก.พ. 52 คณะ Sourcing Trip ห้าง City Super เมย. — พ.ค. 52
สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ เมืองฮ่องกง
ที่มา: http://www.depthai.go.th