พื้นที่ : 9,161,923 ตารางกิโลเมตร ภาษาราชการ : English ประชากร : 301.6 ล้านคน (1 ก.ค. 2550) อัตราแลกเปลี่ยน : US$ : 35.389 บาท (21/04/52) (1) เครื่องชี้วัดเศรษฐกิจ
ปี 2008 ปี 2009
Real GDP growth (%) 1.2 -2.0 Consumer price inflation (av; %) 3.8 -0.6 Budget balance (% of GDP) -3.2 -11.5 Current-account balance (% of GDP) -4.8 -3.5 Commercial banks' prime rate (year-end; %) 2.2 0.3 Exchange rate ฅ:US$ (av) 103.4 93.0 โครงสร้างสินค้าออกของไทยกับสหรัฐอเมริกา มูลค่า : สัดส่วน % % เพิ่ม/ลด
ล้านเหรียญสหรัฐฯ
สินค้าออกสำคัญทั้งสิ้น 3,597.84 100.00 -27.00 สินค้าเกษตรกรรม 334.07 9.29 -12.45 สินค้าอุตสาหกรรมการเกษตร 419.77 11.67 -5.19 สินค้าอุตสาหกรรม 2,784.85 77.40 -30.48 สินค้าแร่และเชื้อเพลิง 59.14 1.64 -39.78 สินค้าอื่นๆ 0.0 0.0 โครงสร้างสินค้าเข้าของไทยกับสหรัฐอเมริกา มูลค่า : สัดส่วน % % เพิ่ม/ลด
ล้านเหรียญสหรัฐฯ
นำเข้าทั้งสิ้น 1,830.59 100.00 -36.32 สินค้าเชื้อเพลิง 31.24 1.71 -60.87 สินค้าทุน 688.29 37.60 -35.55 สินค้าวัตถุดิบและกึ่งสำเร็จรูป 837.67 45.76 -40.55 สินค้าบริโภค 234.46 12.81 -19.86 สินค้ายานพาหนะและอุปกรณ์ขนส่ง 29.80 1.63 46.48 สินค้าอื่นๆ 9.13 0.50 84.77 1. มูลค่าการค้า มูลค่าการนำเข้า ส่งออก และดุลการค้าของไทย - สหรัฐอเมริกา 2551 2552 D/%
(ม.ค.-มีค.) ล้านเหรียญสหรัฐฯ
มูลค่าการค้ารวม 7,802.91 5,428.44 -30.43 การส่งออก 4,928.24 3,597.84 -27.00 การนำเข้า 2,874.68 1,830.59 -36.32 ดุลการค้า 2,053.56 1,767.25 -13.94 2. การนำเข้า ประเทศไทยนำเข้าจากสหรัฐอเมริกาเป็นอันดับที่ 3 มูลค่า 1,830.59 ล้านเหรียญสหรัฐ ลดลงร้อยละ -36.32 สินค้านำเข้าสำคัญ 5 อันดับแรก ได้แก่ มูลค่า : สัดส่วน % % เพิ่ม/ลด
ล้านเหรียญสหรัฐฯ
มูลค่าการนำเข้ารวม 2,874.68 100.00 -36.32 1.เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ 249.66 13.64 -1.44 2.แผงวงจรไฟฟ้า 174.48 9.53 -44.26 3.เคมีภัณฑ์ 150.55 8.22 -44.71 4.พืชและผลิตภัณฑ์จากพืช 144.31 7.88 6.29 5.เครื่องคอมพิวเตอร์ 119.96 6.55 -53.35 อื่น ๆ 277.80 11.94 -21.33 3. การส่งออก ประเทศไทยส่งออกไปเป็นสหรัฐอเมริกา อันดับที่ 1 มูลค่า 3,597.84 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลงร้อยละ -27 สินค้าส่งออกสำคัญ 5 อันดับแรก ได้แก่ มูลค่า : สัดส่วน % % เพิ่ม/ลด
ล้านเหรียญสหรัฐฯ
มูลค่าการส่งออกรวม 3,597.84 100.00 -27.00 1.เครื่องคอมพิวเตอร์ 652.82 18.14 -27.20 2.เสื้อผ้าสำเร็จรูป 277.05 7.70 -23.85 3.อาหารทะเลกระป๋อง 217.62 6.05 -8.54 4.ผลิตภัณฑ์ยาง 187.95 5.22 -15.86 5.อัญมณีและเครื่องประดับ 155.31 4.32 -40.21 อื่น ๆ 267.40 7.43 -28.22 4. ข้อสังเกต 4.1 สินค้าส่งออกสำคัญของไทยไปสหรัฐอเมริกา ปี 2552 (มค.-มีค.) ได้แก่
เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ : สหรัฐอเมริกา เป็นตลาดส่งออกสำคัญอันดับที่ 2 ของไทยจากจีนและเมื่อพิจารณามูลค่าการส่งออกปี 2548 — 2552 พบว่า ปี 2552 (มค.-มีค.) เป็นเพียงปีเดียวที่มีอัตราการ ขยายตัวลดลง 27.20 ในขณะที่ปี 2549 2550 2551 มีอัตราขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องร้อยละ44.83 17.40 และ 1.13 ตามลำดับ เมื่อเทียบกับช่วงเวลา เดียวกันของปีก่อน
เสื้อผ้าสำเร็จรูป : สหรัฐอเมริกา เป็นตลาดส่งออกสำคัญอันดับที่ 1 ของไทยและเมื่อพิจารณามูลค่าการส่งออกปี 2548 — 2552 (มค.-มีค.) พบว่ามีอัตราการขยายตัวลดลงอย่างต่อเนื่อง ร้อยละ -2.26 -5.81 -8.09 และ - 23.85 ตามลำดับ เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อน
อาหารทะเลกระป๋องฯ : สหรัฐอเมริกาเป็นตลาดส่งออกสำคัญอันดับที่ 1 ของไทยและเมื่อพิจารณามูลค่าการส่งออกปี 2548 - 2552 พบว่า ปี 2550 และ ปี 2552(มค.-มีค.)ที่มีอัตราการขยายตัวลดลง (-6.04% และ -8.54%) ในขณะที่ปี 2549 2551 มีอัตราขยายตัว เพิ่มขึ้นร้อยละ 24.25 และ 14.18 ตามลำดับ เมื่อเทียบ กับช่วงเวลา เดียวกันของปีก่อน
ผลิตภัณฑ์ยาง : สหรัฐอเมริกา เป็นตลาดส่งออกสำคัญอันดับที่ 1 ของไทยและเมื่อพิจารณามูลค่าการส่งออกปี 2548 - 2552 พบว่า ปี 2552(มค.-มีค.) มีอัตราการขยายตัวลดลง (-15.86%) ในขณะที่ปี 2549-2551 มีอัตราขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องร้อยละ 23.36 11.87 และ 11.22 ตามลำดับ เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อน
อัญมณีและเครื่องประดับ : สหรัฐอเมริกาเป็นตลาดส่งออกสำคัญอันดับที่ 4 ของไทย และเมื่อพิจารณามูลค่าการส่งออกปี 2547 - 2551 พบว่า ปี 2549 และ ปี 2552(มค.-มีค.) ที่มีอัตราการขยายตัว ลดลง (-1.84% และ -40.21%) ในขณะที่ปี 2550 2551 มีอัตราขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.37 และ 4.78 ตามลำดับเมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อน
อันดับที่ / รายการ มูลค่า อัตราการขยายตัว หมายเหตุ ล้านเหรียญสหรัฐ % 8. ข้าว 100.64 26.30 14.รถจักรยานยนต์และส่วนประกอบ 67.14 62.42 4.3 ในบรรดาสินค้าส่งออกจากไทยไปสหรัฐอเมริกา ปี 2552 (ม.ค.-มีค.) 25 รายการแรก สินค้าที่มีอัตราลดลง รวม 23 รายการ คือ อันดับที่ / รายการ มูลค่า อัตราการขยายตัว ล้านเหรียญสหรัฐ % 1.เครื่องคอมพิวเตอร์ 652.82 -27.20 2.เสื้อผ้าสำเร็จรูป 277.05 -23.85 3.อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป 217.62 -8.54 4.ผลิตภัณฑ์ยาง 187.95 -15.86 5.อัญมณีและเครื่องประดับ 155.31 -40.21 6.เครื่องใช้ไฟฟ้าและส่วนประกอบอื่น ๆ 145.77 -28.47 7.แผงวงจรไฟฟ้า 122.07 -37.82 9.ผลไม้กระป๋องและแปรรูป 105.10 -8.67 10.กุ้งสดแช่เย็น แช่แข็ง 94.51 -0.86 11.ยางพารา 83.07 -43.14 12.เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ 75.17 -21.61 13.เครื่องรับวิทยุโทรทัศน์และส่วนฯ 71.01 -54.25 15.เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ 65.51 -12.26 16.เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ 58.62 -24.14 17.น้ำมันดิบ 58.60 -39.91 18.เครื่องโทรศัพท์ เครื่องตอบรับ 57.02 -16.52 19.ผลิตภัณฑ์พลาสติก 54.28 -35.65 20.เครื่องใช้บนโต๊ะอาหารในครัวและบ้านเรือน 49.38 -14.80 21.ส่วนประกอบอากาศยานและอุปกรณ์การบิน 46.33 -61.47 22.เลนซ์ 43.22 -17.65 23.รองเท้าและชิ้นส่วน 40.71 -26.36 24.เฟอร์นิเจอร์และชิ้นส่วน 39.18 -32.01 25.เครื่องยกทรง รัดทรง 35.61 -17.13 4.4 ข้อมูลเพิ่มเติม
จากการที่สหรัฐอเมริกาได้ทบทวนอัตราภาษีตอบโต้การทุ่มตลาด(เอดี)สินค้ากุ้งจากประเทศไทยรอบล่าสุด ตั้งแต่วันที่ 15 มกราคม 2552 เป็นต้นมา ทำให้ผู้ส่งออกกุ้งไทยได้รับการลดภาษีเอดีลงเหลือ 0% ทั้งนี้จากอัตราภาษีเอดีที่ลดลงเป็น 0% ได้ทำให้ผู้ส่งออกมีความได้เปรียบคู่แข่งขันมากขึ้น เนื่องจากบริษัทส่งออกกุ้งของไทยไปสหรัฐฯโดยส่วนใหญ่ยังมีภาระภาษีเอดีมากน้อยแตกต่างกันไป ส่งผลให้สามารถทำราคาได้มากกว่าคู่แข่งขันโดยผู้ส่งออกมั่นใจว่ายอดขายของกลุ่มในปีนี้จะขยายตัวเพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาไม่ต่ำกว่า 30% สำหรับกลยุทธ์ในการขยายตลาดมูลค่าการส่งออกนอกจากเรื่องราคาแล้ว ควรเน้นในตลาดฟูดเซอร์วิส หรือลูกค้าในกลุ่มภัตตาคาร ร้านอาหารให้มากขึ้น ขณะเดียวกันการเน้นการผลิตส่งออกสินค้ากุ้งที่มีมูลค่าเพิ่มมากขึ้นในต้นทุนการผลิตที่ถูกลงโดยเพิ่มส่วนผสมต่างๆ เช่น เพิ่มผัก ผลไม้ แป้ง หรือซอสให้มากขึ้น ช่วยให้ราคาสินค้าต่อหน่วยถูกลง ซึ่งแม้เวลานี้กำลังซื้อของผู้บริโภคจะลดลงตามภาวะเศรษฐกิจ แต่เชื่อว่าจากราคาสินค้าต่อหน่วยที่ลดลงจะจูงใจให้ตัดสินใจซื้อง่ายขึ้น
กรมศุลกากรและการปกป้องชายแดน (CBP) ของสหรัฐ จะยกเลิกข้อกำหนดเรื่องการวางเงินค้ำประกันพิเศษสำหรับการนำเข้ากุ้งราคาถูกที่ครอบคลุมภาษีต่อต้านการทุ่มตลาด (AD) หลังจาก WTO ตัดสินในปีที่แล้วว่าข้อกำหนดดังกล่าวไม่สอดคล้องกับกฎ ภายหลังได้รับคำร้องเรียนจากไทยและอินเดีย ทั้งนี้การเรียกเก็บเงินค้ำประกันดังกล่าวได้ส่งผลกระทบต่อผู้ส่งออกอาหารทะเลของไทย เช่น บริษัท ไทยยูเนี่ยน โฟรเซ่น โปรดักส์ จำกัด (มหาชน) TUF, บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน)CPF และ บริษัท ซีเฟรชอินดัสตรี จำกัด (มหาชน) CFRESH ขณะที่สำนักงานการประมงแห่งชาติของสหรัฐระบุว่าในปี 2551 สหรัฐนำเข้ากุ้ง 182,370 ตันจากไทย ซึ่งเป็นผู้ส่งออกกุ้งรายใหญ่ที่สุดให้แก่สหรัฐ โดยมีมูลค่า 1.28 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ส่วนปริมาณการนำเข้ากุ้งทั้งหมดของสหรัฐอยู่ที่ 564 ล้านตัน และมีมูลค่า 4.093 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ หากกรณีดังกล่าวมีความชัดเจนและมีผลบังคับใช้จริงในเร็วๆนี้ ถือเป็นปัจจัยบวกต่อกลุ่มผู้ส่งออกกุ้งไปประเทศสหรัฐ เนื่องจากการยกเลิกเงินวางค้ำประกันภาษีเอดีนำเข้ากุ้ง จะส่งผลให้ต้นทุนการสำรองจ่ายส่วนนี้หมดไปจากเดิมที่เคยจ่ายอยู่ในอัตราหลายล้านดอลลาร์สหรัฐ ผู้ประกอบการส่งออกอาหารทะเล ถือว่าได้รับผลบวกโดยตรงจากการยกเลิกเงินวางค้ำประกันภาษีเอดี โดยผู้ประกอบการจะมีเงินทุนหมุนเวียนเพิ่มขึ้นและช่วนเสริมสภาพคล่องทางการเงินอย่างมาก เนื่องจากไม่มีความจำเป็นต้องนำเงินไปวางสำรองจ่ายในการส่งออกกุ้งไปสหรัฐ
ปลายเดือนเม.ย.นี้ สหรัฐฯจะพิจารณาทบทวนสถานการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาของประเทศคู่ค้า 63 ประเทศ ตามมาตรา 301 พิเศษของกฎหมายการค้าสหรัฐ โดยจัดอับดับคู่ค้าประจำปี 2552 แต่จากการพบปะ 10 สมาคมอุตสาหกรรมของสหรัฐฯมีแนวโน้มว่าไทยยังจะอยู่ในบัญชีประเทศที่ถูกจับตาเป็นพิเศษ (Priority Watch List : PWL) เช่นเดิมเหมือนกับปีที่ผ่านมา โดยยืนยันสินค้าไทยยังได้รับ GSP เหมือนเดิม นอกจากนี้แล้วได้รับการยืนยันแล้วว่าสิทธิพิเศษทางภาษีหรือGSP ที่ไทยได้รับการยกเว้นกว่า 3,400 รายการที่มูลค่ารวมกันสูงถึง 130,000 ล้านบาทก็จะยังได้รับสิทธิพิเศษเช่นเดิมต่อไปไม่มีการยกเลิกสิทธิพิเศษทางภาษีแต่อย่างใด นอกจากนี้ 13 รายการสินค้าที่ถูกตัดสิทธิพิเศษไปก่อนหน้านี้อาทิ ธัญพืช ,เม็ดพลาสติก กระเบื้องปูพื้นและผนัง เป็นต้น มีแนวโน้มว่าทางสหรัฐฯจะคืนสิทธิพิเศษในเร็วๆนี้ ทั้งนี้การประกาศนโยบายของประธานาธิบดีบารัค โอบามา ที่ประกาศสนับสนุนให้อุตสาหกรรมในประเทศใช้วัสดุในประเทศอาจจะส่งผลกระทบต่อไทยพอสมควรในบางอุตสาหกรรม โดยต้องลดการนำเข้าจากต่างประเทศซึ่งไทยส่งออกไปสหรัฐฯถึง 20% ของการส่งออกทั้งหมดย่อมได้รับผลกระทบแน่นอน
ที่มา: http://www.depthai.go.th