1.1 การค้าและการบริโภคข้าวของฮ่องกง
ข้าวเป็นสินค้าที่ชาวฮ่องกงส่วนใหญ่บริโภคทุกวัน โดยมีอัตราการบริโภคเฉลี่ยต่อคนประมาณ 48-50 กก. ต่อปี ฮ่องกงไม่ผลิตข้าว แต่จะนำเข้าข้าวจากต่างประเทศประมาณ 300,000 — 340,000 ตันต่อปี ส่วนใหญ่จะใช้บริโภค ภายในประเทศ ส่วนที่เหลือจะส่งต่อไปยังประเทศ ที่สาม อาทิ มาเก๊า จีน แคนาดา สหรัฐอเมริกา ปัจจัยที่สำคัญที่มีผลใน การเลือกซื้อข้าวของชาวฮ่องกง ได้แก่ ราคา คุณภาพ และรสชาด โดยชาวฮ่องกงนิยมบริโภคทั้งข้าวเมล็ดยาว(ข้าวหอม มะลิจากไทย) และข้าวเมล็ดสั้น
1.2 มาตรการของรัฐบาลฮ่องกงเกี่ยวกับการค้าข้าว
ข้าวถือเป็นสินค้ายุทธศาสตร์ (Strategic Commodities) ของฮ่องกง การจะนำเข้าต้องขออนุญาตจาก กรมการค้าและอุตสาหกรรม(Department of Trade and Industry) เมื่อปี 2498(ค.ศ. 1955) รัฐบาลฮ่องกงได้ ดำเนินโครงการควบคุมการค้าข้าว(rice control scheme) เนื่องจากต้องการสร้างความมั่นใจให้กับผู้บริโภคว่า ฮ่องกง จะมีข้าวเพียงพอสำหรับการบริโภค และมีข้าวสำรองในยามฉุกเฉินด้วย ภายใต้โครงการดังกล่าว ผู้นำข้าวจะได้รับการจัดสรร โควต้าการนำเข้าข้าว ต่อมา หลังจากที่ฮ่องกงเข้าเป็นสมาชิก WTO ในปี 2538(ค.ศ. 1995) รัฐบาลฮ่องกงจะต้องเปิดให้ มีการแข่งขันการค้าข้าวอย่างเสรีมากขึ้น จึงได้ทบทวนโครงการนี้ใหม่ และดำเนินมาตรการเปิดเสรีการค้าข้าวอย่างค่อยเป็น ค่อยไปตั้งแต่ปี 2539 (ค.ศ. 1996) เป็นต้นมา โดยในปี 2546 (ค.ศ. 2003) รัฐบาลได้คงมาตรการที่จำเป็นในการควบคุม การค้าข้าวไว้บางมาตรการเท่านั้น เพื่อเป็นการประกันการมีข้าวเพียงพอสำหรับการบริโภค โดยผู้ที่มีความประสงค์จะค้าข้าว ในฮ่องกงต้องลงทะเบียนเป็นผู้นำเข้าข้าว หรือประกอบกิจการค้าข้าว (การขายส่งและการขายปลีก)
หลังจากปี พ.ศ. 2546 รัฐบาลฮ่องกงได้ยกเลิกข้อกำหนดในการนำเข้าข้าว และปล่อยให้ราคาข้าว จำนวน ของผู้ประกอบการ และส่วนแบ่งตลาดขึ้นอยู่กับอุปสงค์และอุปทานของการแข่งขันอย่างเสรีในตลาด ทำให้จำนวนผู้ค้าข้าวเพิ่มขึ้น จาก 50 รายในปี 2546 เป็นประมาณ 103 รายในปัจจุบัน(พ.ค. 2552) โดย Trade and Industry Department ของ ฮ่องกงมีหน้าที่หลักในการติดต่อ/ประสานงานกับผู้ค้าข้าว ตลอดจนตรวจสอบการนำเข้า การเก็บสินค้า และการขายข้าวอย่าง ใกล้ชิดด้วย นอกจากนี้ตั้งแต่เดือนพ.ค.2551 รัฐบาลฮ่องกงได้มอบหมายให้ Consumer Council ดูแลและสำรวจการเคลื่อนไหว ของราคาอาหารและสินค้าที่จำเป็น(รวมถึงข้าว) โดยได้เพิ่มความถี่ของการสำรวจจาก 1 ครั้งต่อ 2 สัปดาห์ เป็น 1 ครั้งต่อ สัปดาห์ตั้งแต่ปลายเดือน ส.ค. 2551 และเผยแพร่ผลการสำรวจผ่านเว็ปไซค์ของ Consumer Council และผ่านสื่อต่างๆ เพื่อให้ข้อมูลแก่ประชาชนอย่างทั่วถึง
2.1 ข้าวไทยและการแข่งขันในตลาดฮ่องกง
ข้าวไทยเป็นที่นิยมในตลาดฮ่องกงอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้าวหอมมะลิ เนื่องจากข้าวไทยมีคุณภาพดี โดยสามารถครองส่วนแบ่งของตลาดได้มากที่สุด (ประมาณร้อยละ 85-90) เมื่อเทียบกับผู้ส่งออกข้าวรายใหญ่อื่นๆ อาทิ จีน (ร้อยละ 18.1) เวียดนาม(ร้อยละ 2) ออสเตรเลีย(ร้อยละ 1.1) สหรัฐอเมริกา(ร้อยละ 0.2) โดยมีสถิติการนำเข้าข้าว จากผู้ส่งออกรายใหญ่ไปยังฮ่องกงตั้งแต่ปี ค.ศ. 2002-2009(ม.ค.-พ.ค.) ดังนี้
(หน่วย: พันตัน)
ปีค.ศ/พันธ์ข้าว 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 ไทย (ม.ค.-พ.ค.) ข้าวหอมมะลิ 254.7 236.3 197.4 219.5 215.6 236.5 209.8 89.2 ข้าวขาว 14.7 29.4 61.5 69.7 53.1 49.1 71.3 19.0 อื่นๆ 13.1 12.0 15.7 16.8 15.0 15.2 15.6 7.3 รวม 282.5 277.7 274.6 306.0 283.7 300.8 296.7 115.5 จีน ข้าว See Mew 3.0 3.8 2.2 2.4 1.5 1.6 2.0 3.2 ข้าว Yu Jien 8.5 15.4 11.5 9.7 16.5 13.4 29.2 14.8 อื่นๆ 0.1 0.2 0.4 0.9 0.5 0.7 0.4 0.1 รวม 11.6 19.4 14.1 13.0 18.5 15.7 31.6 18.1 Australia ข้าว Inga 14.9 13.3 7.8 4.2 2.6 2.8 1.6 0.1 ข้าว Calrose 8.6 6.1 6.9 5.6 4.9 4.9 3.4 1.0 อื่นๆ 0.2 - - - - - - - รวม 23.7 19.4 14.7 9.8 7.5 7.7 5.0 1.1 เวียดนาม 0.5 0.4 0.9 0.9 1.8 0.2 1.6 2.0 สหรัฐอเมริกา 5.3 4.9 2.7 6.9 0.8 0.7 0.7 0.2 อื่นๆ 0.2 0.4 0.8 0.2 0.6 7.2 1.6 0.4 รวมทั้งสิ้น 323.8 322.2 307.8 336.8 312.9 332.3 337.2 137.3
จากตารางข้างต้น จะเห็นได้ว่าข้าวไทยสามารถครองตลาดของฮ่องกงได้อย่างต่อเนื่อง โดยมีข้าวจากจีนเป็นอันดับ สอง อย่างไรก็ตาม เมื่อเดือนเมษายน 2551 ได้เกิดวิกฤตการณ์ข้าว โดยประเทศที่ผลิตข้าวบางประเทศ ได้ประกาศลดการผลิต จึงทำให้ราคาข้าวแพงขึ้น (โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ข้าวจากไทย) และข้าวขาดตลาด รัฐบาลฮ่องกงจึงได้ขอให้รัฐบาลไทยรับประกัน การส่งข้าวไทยไปฮ่องกง และได้ทำความตกลงกับรัฐบาลจีนในการส่งข้าวให้กับฮ่องกงอย่างต่อเนื่องเพื่อเป็นการประกันไม่ให้เกิด การขาดแคลนข้าว สำหรับการบริโภคในฮ่องกง ในช่วงเวลาดังกล่าว ชาวฮ่องกงจำนวนมากได้หันมาบริโภคข้าวจากจีน ซึ่งมีราคาถูก อย่างไรก็ตาม ราคาข้าวไทยได้ลดลงจากช่วงที่ราคาสูงที่สุดในช่วงวิกฤตในระดับ 1,400 ดอลลาร์ฮ่องกง ต่อตันเป็น 900 ดอลลาร์ ฮ่องกงต่อตัน เมื่อปลายเดือน ตุลาคม 2551 แล้ว /1
2.2 โอกาสของข้าวไทยในตลาดฮ่องกง
- ข้าวไทยนับว่าเป็นที่นิยมและติดตลาดฮ่องกง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ข้าวหอมมะลิ เนื่องจากมีคุณภาพที่ดี ดังนั้น
- ไทยอาจจะส่งเสริมการส่งออกข้าวเพื่อสุขภาพ อาทิ ข้าวปลอดสารพิษ ข้าวกล้อง ไปยังตลาดฮ่องกงมากขึ้น
- ไทยอาจสามารถเพิ่มปริมาณการส่งออกข้าวไปฮ่องกงได้มากขึ้น โดย
o การส่งเสริม และประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางร้านอาหารไทยในฮ่องกงให้มากขึ้น
o การส่งเสริมและประชาสัมพันธ์ข้าวไทยตามเทศกาลต่างๆ หรือตามงาน in-store promotion โดย อาจสาธิตการทำอาหารโดยใช้ข้าวไทยเป็นส่วนประกอบ
o ประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างภาพลักษณ์ ข้าวหอมมะลิไทย ผ่านสื่อต่างๆ
o ร่วมมือกับผู้นำเข้าหรือผู้กระจายสินค้า จัดกิจกรรมส่งเสริมการขาย
---------------------------------------
/1 ราคาข้าวไทยเริ่มปรับตัวสูงขึ้นตั้งแต่เดือนเมย.51 โดยมีราคานำเข้าข้าวหอมมะลิอยู่ที่ระดับราคา 5.90 ดอลลาร์ ฮ่องกงต่อ 1 ก.ก.(เพิ่มขี้นร้อยละ 18) ข้าวขาว ราคา 5.22 ดอลลาร์ฮ่องกงต่อ 1 ก.ก. (เพิ่มขึ้นร้อยละ 29.2) และใน ขณะเดียวกัน ข้าวจากจีนโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ข้าว Yu Jien มีอัตราการเพิ่มขึ้นของราคาถึงร้อยละ 34.8 (จากราคา 3.88 เป็น 5.23 ดอลลาร์ฮ่องกงต่อ 1 ก.ก.) อย่างไรก็ตามราคานำเข้าข้าวไทยและข้าวจากจีนได้เริ่มปรับตัวลดลงอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ เดือน ส.ค. 51 และเป็นที่น่าสังเกตว่า ในขณะที่ราคานำเข้าข้าวไทยและข้าวจีนปรับตัวลดลง แต่ราคาขายปลีกขาวบางชนิด โดย
3.1 สมาคมข้าว
HK Rice Importers & Exporters Association
PO Box 33771
Sheung Wan Post Office, Hong Kong.
Tel.: 852 2547 7323
Fax. 852 2547 7323
Chairman: Mr. Chan Wai Shun
The Rice Merchants’ Association of HK
PO Box 33402
Sheung Wan Post Office
Hong Kong.
Tel. 852 2543 6247
Fax. 852 2541 4721
Email: kknc@kfy.com.hk
Chairman: Mr. Kenneth Chan
Hong Kong Rice Suppliers — Association Ltd.
G/F., 72 Connaught Road, West,
Hong Kong.
Tel. 852 2548 1228
Fax. 852 2858 6964
Chairman : Mr. Lam Tong
3.2 รายชื่อผู้นำเข้าข้าวสำคัญ
No Rice Stockholders Contact Details 1 Kui Fat Yuen Ltd. 229-231 Wing Lok Street,
1/F., Hong Kong
Tel: 852 2543 6247
Fax: 852 2541 4721
- Ms. Amy Chan Li - Exe Director
2 Dah Chong Hong Ltd. 9/F., 20 Kai Cheung Road,
Kowloon Bay, Kowloon, Hong Kong
Tel: 852 2768 3388
Fax: 852 2753 6266
Fomdept@fom.dch.com.hk
- Mr. H.F. Chu — Director
3 Kwong Sun Hong Ltd. Rom 101-2 Bonham Commercial Ctr,
44-46 Bonham Strand West, HK
Tel: 852 2545 1666
Fax: 852 2854 1308
Ksh@kwongsun.com
- Ms. Wong Winnie Kar Wai
Marketing Manager
4 Golden Resource Group 11/F Golden Resources Centre
2-12 Cheung Tat Road, Tsing Yi
N.T., Hong Kong.
Tel. 852 2432 8188
Fax. 852 2433 4092
- Mr. Anthony Lam — Executive Director
5 Chui Tai Hong, G/F., 145 Connaught Road, West Chung Shing Hong Rice Co., Ltd. Sai Ying Pun, Hong Kong. Mr. Tong Tai Kam David Tel. 852 2548 4009
Fax. 852-2549 7191
Email: tktong@netvigator.com
Mr. Tong kam David - Manager
2 Total number of approved rice storage place : 81 3 Total import quantity undertaken for the import period 1 Apr — 30 June 2009 : 83,700 tonnes 4 Quantity imported out of the import quantity undertaken at (3) above : 60,900 tonnes 5 Quantity consumed in the above import period(sold and cleared from approved rice storage place) : 57,300 tonnes 6 Closing stock(excluding reserve stock) : 16,400 tonnes 7 Reserve stock for the above import period : 13,500 tonnes Registered rice stockholders is as follows: Undertaken import quantity No.of stockholders (Unit: tones) 0 22 0 — below 250 43 250 — below 500 7 500 — below 1,000 8 1,000 — below 1,500 4 1,500 — below 2,000 6 2,000 and above 13 Total 103 1. No. of registered rice stockholders and approved rice storage places (as at end of year unless otherwise specified) 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009
(as at 31 May)
Registered 52 83 97 94 93 96 108 103 Stockholders of rice Approved rice storage 35 51 68 70 73 68 75 81 Places 2. Imports into Hong Kong by origin and rice types
(หน่วย: พันตัน)
2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009
(as at 31 May) Mainland China
See Mew 3.0 3.8 2.2 2.4 1.5 1.6 2.0 3.2 Yu Jien 8.5 15.4 11.5 9.7 16.5 13.4 29.2 14.8 Other 0.1 0.2 0.4 0.9 0.5 0.7 0.4 0.1 Sub-total 11.6 19.4 14.1 13.0 18.5 15.7 31.6 18.1 Thailand Fragrant 254.7 236.3 197.4 219.5 215.6 236.5 209.8 89.2 White 14.7 29.4 61.5 69.7 53.1 49.1 71.3 19.0 Other s 13.1 12.0 15.7 16.8 15.0 15.2 15.6 7.3 Sub-total 282.5 277.7 274.6 306.0 283.7 300.8 296.7 115.5 Australia Inga 14.9 13.3 7.8 4.2 2.6 2.8 1.6 0.1 Calrose 8.6 6.1 6.9 5.6 4.9 4.9 3.4 1.0 Others 0.2 - - - - - - - Sub-total 23.7 19.4 14.7 9.8 7.5 7.7 5.0 1.1 USA 5.3 4.9 2.7 6.9 0.8 0.7 0.7 0.2 Vietnam 0.5 0.4 0.9 0.9 1.8 0.2 1.6 2.0 Others 0.2 0.4 0.8 0.2 0.6 7.2 1.6 0.4 Total: 323.8 322.2 307.8 336.8 312.9 332.3 337.2 137.3 3. Re-exports by Destination (หน่วย:ตัน) 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009
(as at 31 May)
Macau 3,352 3,026 5,452 3,971 4,325 5,411 5,895 2,688 Mainland China 862 786 570 666 661 344 758 301 Canada 609 724 715 627 1,050 995 1,396 360 USA 340 256 456 391 36 324 301 316 Others 626 128 838 834 593 341 360 398 Total 5,789 4,920 8,031 6,489 6,665 7,415 8,710 4,063 4. Local Consumption by Origin and Rice Types (หน่วย: พันตัน) 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 Mainland China (as at 31 May) See Mew Yu Jien 3.3 3.7 2.9 2.4 1.6 1.7 1.8 2.0 Other 8.8 13.7 13.0 10.5 16.5 13.3 28.0 14.7 Sub-total 0.1 0.2 0.4 0.7 0.6 0.6 0.5 0.1 12.2 17.6 16.3 13.6 18.7 15.6 30.3 16.8 Thailand Fragrant 260.0 227.2 203.9 222.5 218.4 235.0 208.2 89.9 White 13.0 26.2 60.3 69.5 56.7 49.0 71.0 20.1 Other s 13.1 11.5 16.1 15.8 16.1 15.0 15.3 6.8 Sub-total 286.1 264.9 280.3 307.8 291.2 299.0 294.5 116.8 Australia Inga 15.4 13.7 8.3 4.1 2.1 3.3 1.5 0.4 Calrose 9.3 6.4 6.9 5.3 5.1 4.9 3.4 0.9 Others 0.2 - - - - - - - Sub-total 24.9 20.1 15.2 9.4 7.2 8.2 4.9 1.3 USA 6.0 4.8 2.6 7.0 0.8 0.6 0.7 0.2 Vietnam 0.5 0.4 0.8 1.0 1.6 0.4 1.6 1.5 Others 0.2 0.4 0.7 0.3 0.7 6.1 2.7 0.4 Total: 329.9 328.2 315.9 339.1 320.2 329.9 334.7 137.0 5. Per Capita Consumption (หน่วย: กก.) 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 Per capita consumption 49 45 46 49 47 48 48 6. Average rice import CIF(Cost insurance freight) Prices Prices of Selected Rice Types (2002-2008)
(Unit :HK$/kg.)
2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 Thai Fragrant: Jan-Mar 2.61 2.92 4.11 3.68 3.59 4.12 4.78 Apr-Jun 2.69 3.32 4.04 3.73 3.68 4.34 6.33 Jul — Sep 2.89 3.77 3.89 3.62 3.87 4.39 6.78 Oct-Dec 3.17 3.95 3.62 3.62 4.04 4.51 6.44 Annual Average 2.84 3.49 3.92 3.66 3.80 4.34 6.08 Chinese See Mew: Jan-Mar 3.89 3.50 3.91 4.09 4.21 4.09 4.26 Apr-Jun 4.39 3.50 3.74 4.33 4.33 4.01 6.65 Jul — Sep 4.14 3.62 4.29 3.94 4.32 4.22 6.80 Oct-Dec 4.36 3.14 3.65 4.14 4.45 4.29 6.08 Annual Average 4.19 3.44 3.90 4.12 4.33 4.15 5.95 Australia Jan-Mar 3.45 3.30 3.37 4.62 4.63 4.11 4.64 Apr-Jun 3.54 3.51 3.52 4.52 4.32 4.54 9.38 Jul — Sep 3.49 3.42 3.80 4.67 3.70 4.52 9.38 Oct-Dec 3.83 3.53 4.19 4.63 3.99 4.48 9.33 Annual Average 3.58 3.44 3.72 4.61 4.16 4.41 8.18 Note: Import CIF prices are calculated from the information declared by rice stockholders in the import licences Costs incurred locally before retail sale, such as transportation, storage, packaging, etc. are not included 7. Average rice import CIF(Cost Insurance Freight) Prices of Selected Rice Types in the Current Year
(Unit :HK$/kg.)
2009 Thai Fragrant Chinese See Mew Australian Inga JAN 6.28 5.50 -* FEB 6.40 5.23 -* MAR 6.50 5.47 -* APR 6.60 5.30 -* MAY 6.74 5.56 -* Note: Import CIF prices are calculated from the information declared by rice stockholders in the import licences. Costs incurred locally before retail sale, such as transportation, storage, packaging, etc. are not included.
- There was no licenses application on the type of rice during the period.
(Unit :HK$/kg.)
2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 Thai Fragrant: Jan-Mar 7.37 6.54 6.65 6.77 6.33 6.96 7.79 Apr-Jun 7.39 6.62 6.85 6.64 6.44 7.20 9.60 Jul — Sep 7.25 6.70 6.97 6.52 6.59 7.25 10.87 Oct-Dec 6.94 6.72 6.75 6.32 6.90 7.32 10.69 Annual Average 7.24 6.65 6.81 6.56 6.57 7.18 9.74 Chinese See Mew: Jan-Mar 6.85 6.51 6.20 6.28 6.39 6.85 7.68 Apr-Jun 6.72 6.46 6.58 6.37 6.31 6.83 8.88 Jul — Sep 6.99 6.38 6.50 6.52 6.26 6.67 10.29 Oct-Dec 6.76 6.26 6.67 6.44 6.44 6.86 10.42 Annual Average 6.83 6.40 6.49 6.40 6.35 6.80 9.32 Australia Jan-Mar 7.15 6.56 6.86 7.25 6.49 7.36 8.27 Apr-Jun 7.12 6.76 7.04 7.32 6.34 7.58 10.92 Jul — Sep 6.98 6.77 7.14 7.52 6.50 7.60 12.54 Oct-Dec 6.76 6.84 7.27 7.09 7.06 7.71 12.19 Annual Average 7.00 6.73 7.08 7.29 6.60 7.56 10.98 Note: Retail prices are calculated from information collected from field surveys to a number of supermarkets in Hong Kong. They represent the average prices of a few selected brands of the above three rice types. 9. Average Retail Prices of Selected Rice Types in the current year
(Unit :HK$/kg.)
2009 Thai Fragrant Chinese See Mew Australian Inga JAN 10.26 10.20 11.28 FEB 10.61 10.40 11.07 MAR 10.56 10.58 10.64 APR 10.44 10.43 10.71 MAY 10.43 10.19 11.22 Note: Retail prices are calculated from the information collected from field surveys to a number of supermarket in Hong Kong. They represent the average prices of a few selected brands of the above three rice types. 10. Reserve stock
(หน่วย : ตัน)
Reserve stock
Before 1998 45,000 1998-2000 (Jun) 40,000 2000(Jul-Dec) 27,000 2001 19,000 2002 13,500 2003(Note) 12,700 2004 13,500 2005 14,200 2006 13,800 2007 13,800 2008 14,400 2009(Jan-Mar) 14,000 2009(Apr-Jun) 13,500 Note: From 2003 onwards, reserve stock is maintained at a level sufficient for consumption by the local population for 15 days. The 2003 to 2008 figures are average amounts of the respective year.
สคต.ฮ่องกง
ที่มา: http://www.depthai.go.th