พื้นที่ : 181,035 ตารากิโลเมตร ภาษาราชการ : Khmer ประชากร : 14.2 ล้านคน (mid-2006) อัตราแลกเปลี่ยน : KHR 0.0081 (30 /07/09) โครงสร้างสินค้าออกของไทยกับกัมพูชา มูลค่า : สัดส่วน % % เพิ่ม/ลด
ล้านเหรียญสหรัฐฯ
สินค้าออกสำคัญทั้งสิ้น 752.64 100.00 -30.91 สินค้าเกษตรกรรม 31.07 4.13 71.44 สินค้าอุตสาหกรรมการเกษตร 193.38 25.69 0.24 สินค้าอุตสาหกรรม 425.74 56.57 -31.84 สินค้าแร่และเชื้อเพลิง 102.44 13.61 -59.61 สินค้าอื่นๆ 0.0 0.0 โครงสร้างสินค้าเข้าของไทยกับกัมพูชา มูลค่า : สัดส่วน % % เพิ่ม/ลด
ล้านเหรียญสหรัฐฯ
นำเข้าทั้งสิ้น 23.47 100.00 -41.41 สินค้าเชื้อเพลิง 0.0 0.0 สินค้าทุน 0.43 1.84 -11.15 สินค้าวัตถุดิบและกึ่งสำเร็จรูป 10.07 42.88 -67.49 สินค้าบริโภค 12.90 54.96 50.00 สินค้ายานพาหนะและอุปกรณ์ขนส่ง 0.07 0.32 292.90 สินค้าอื่นๆ 0.0 0.0 -100.00 1. มูลค่าการค้า มูลค่าการนำเข้า ส่งออก และดุลการค้าของไทย - กัมพูชา 2551 2552 %
(ม.ค.—มิ.ย.) ล้านเหรียญสหรัฐฯ
มูลค่าการค้ารวม 1,129.38 776.12 -31.28 การส่งออก 1,089.32 752.64 -30.91 การนำเข้า 40.06 23.47 -41.41 ดุลการค้า 1,049.25 729.17 -30.51 2. การนำเข้า กัมพูชาเป็นตลาดนำเข้าอันดับที่ 75 ของไทย มูลค่า 23.47 ล้านเหรียญสหรัฐ ลดลงร้อยละ 41.41 สินค้านำเข้าสำคัญ 5 อันดับแรก ได้แก่ มูลค่า : สัดส่วน % % เพิ่ม/ลด
ล้านเหรียญสหรัฐฯ
มูลค่าการนำเข้ารวม 23.47 100.00 -41.41 1.ผัก ผลไม้และของปรุงแต่ง 10.34 44.07 230.57 2.พืชและผลิตภัณฑ์จากพืช 4.50 19.18 -7.93 3.สินแร่โลหะอื่น ๆ เศษโลหะ 1.88 8.00 -83.00 4.เสื้อผ้าสำเร็จรูป 1.23 5.25 -15.28 5.เยื่อกระดาษและเศษกระดาษ 1.02 4.33 -60.45 อื่น ๆ 0.10 0.43 -67.46 ข้อสังเกต : 1. ผัก ผลไม้และของปรุงแต่ง ในปี 2552 (มค.-มิย.) มีมูลค่าการนำเข้า 10.34 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เมื่อเทียบกับ ช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อน มีการนำเข้า 3.13 ล้านเหรียญสหรัฐฯ จึงทำให้มีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้น 230.57 3. การส่งออก กัมพูชาเป็นตลาดส่งออกอันดับที่ 22 ของไทย มูลค่า 752.64 ล้านเหรียญสหรัฐ ลดลงร้อยละ 30.91 สินค้าส่งออกสำคัญ 5 อันดับแรก ได้แก่ มูลค่า : สัดส่วน % % เพิ่ม/ลด
ล้านเหรียญสหรัฐฯ
มูลค่าการส่งออกรวม 752.64 100.00 -30.91 1.น้ำมันสำเร็จรูป 71.73 9.53 -68.05 2.น้ำตาลทราย 66.27 8.81 22.13 3.ปูนซีเมนต์ 44.89 5.96 -0.73 4.เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ 42.12 5.60 -45.49 5.เครื่องดื่ม 39.93 5.31 -29.02 อื่น ๆ 167.10 22.21 -9.51 4. ข้อสังเกต 4.1 สินค้าส่งออกสำคัญของไทยไปกัมพูชา ปี 2552 (มค.- มิย.) ได้แก่
น้ำมันสำเร็จรูป : กัมพูชาเป็นตลาดส่งออกสำคัญอันดับที่ 9 ของไทย และเมื่อพิจารณามูลค่าการส่งออกปี 2548 — 2552 (มค.-มิย.)พบว่า ปี 2552 (มค.-มิย.) เป็นครั้งแรกที่มีอัตราการขยายตัว ลดลงร้อยละ 68.05 ในขณะที่ปี 2549 2550 และ 2551มีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 11.90 48.65 และ 88.17 ตามลำดับ เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของ ปีก่อน
น้ำตาลทราย : กัมพูชาเป็นตลาดส่งออกสำคัญอันดับที่ 3 ของไทย และเมื่อพิจารณามูลค่าการส่งออกปี 2548 — 2552 (มค.-มิย.) พบว่า ปี 2550 เป็นครั้งแรกที่มีอัตราการขยายตัว ลดลงร้อยละ 30.95 ในขณะที่ปี 2549 2551 และ 2552 (มค.- มิย.) มีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 37.66 63.88 และ 22.13 ตามลำดับ เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของ ปีก่อน
ปูนซีเมนต์ : กัมพูชาเป็นตลาดส่งออกสำคัญอันดับที่ 3 ของไทยและเมื่อพิจารณามูลค่าการส่งออกปี 2548 — 2552 (มค.-มิย.) พบว่า ปี 2552 (มค.-มิย.) เป็นครั้งแรกที่มีอัตราการขยายตัวลดลงร้อยละ 0.73 ในขณะที่ปี 2549 2550 และ 2551 มีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 24.86 19.79 และ 5.22ตามลำดับ เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของ ปีก่อน
เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ : กัมพูชาเป็นตลาดส่งออกสำคัญอันดับที่ 14 ของไทย และเมื่อพิจารณามูลค่าการส่งออกปี 2548 — 2552 (มค.-มิย.)พบว่า ปี 2552 (มค.-มิย.) เป็นครั้งแรกที่มีอัตราการขยายตัวลดลงร้อยละ 45.49 ในขณะที่ปี 2549 2550 และ 2551มีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 33.61 0.66 และ 187.90 ตามลำดับ เมื่อเทียบกับ ช่วงเวลาเดียวกันของ ปีก่อน
เครื่องดื่ม : กัมพูชาเป็นตลาดส่งออกสำคัญอันดับที่ 2 ของไทย และเมื่อพิจารณามูลค่าการส่งออกปี 2548 — 2552 (มค.-มิย.) พบว่า ปี 2552 (มค.-มิย.) เป็นครั้งแรกที่มีอัตราการขยายตัว ลดลงร้อยละ 29.02 ในขณะที่ปี 2549 2550 และ2551มีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 31.70 7.05 และ 25.68 ตามลำดับ เมื่อเทียบกับ ช่วงเวลาเดียวกันของ ปีก่อน
อันดับที่ / รายการ 2551 2552 อัตราการขยายตัว หมายเหตุ (ม.ค.-พ.ค.) %
มูลค่าล้านเหรียญสหรัฐ
2.น้ำตาลทราย 54.27 66.27 22.13 7.ผลิตภัณฑ์ยาง 29.20 29.66 1.57 8.เครื่องสำอาง สบู่ และผลิตภัณฑ์รักษาผิว 23.66 25.48 7.69 9.สินค้าปศุสัตว์อื่น ๆ 7.20 21.65 200.76 18.ผลิตภัณฑ์ข้าวสาลีและอาหารสำเร็จรูป 10.24 12.10 18.11 22.สิ่งปรุงรสอาหาร 6.06 8.16 34.75 24.เครื่องโทรสาร 0.02 7.40 35,500.71 25.หมากฝรั่งและขนมที่ไม่มีโกโก้ผสม 5.79 7.01 21.15
สินค้าปศุสัตว์อื่น ๆ : กัมพูชาเป็นตลาดส่งออกสำคัญอันดับที่ 4 ของไทย และเมื่อพิจารณามูลค่าการส่งออกปี 2548 — 2552 (มค.-มิย.) พบว่าปี 2549 2550 เป็นครั้งแรกที่มีอัตราการขยายตัว ลดลงร้อยละ 47.79 83.44 ในขณะที่ปี 2551 2552 (มค.-มิย.) มีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 15,443.19 และ 199.13 ตามลำดับ เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของ ปีก่อน
เครื่องโทรสาร : กัมพูชาเป็นตลาดส่งออกสำคัญอันดับที่ 3 ของไทยและเมื่อพิจารณามูลค่าการส่งออกปี 2548 — 2552 (มค.-มิย.)พบว่าปี 2552 (มค.-มิย.) เป็นครั้งแรกที่มีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 35,500 ในขณะที่ปี 2549 — 2551 มี อัตราการขยายตัวลดลงร้อยละ 93.78 1.68 และ 95.51 ตามลำดับ เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของ ปีก่อน
อันดับที่ / รายการ มูลค่า อัตราการขยายตัว ล้านเหรียญสหรัฐ % 1.น้ำมันสำเร็จรูป 71.73 -68.05 3.ปูนซิเมนต์ 44.89 -0.73 4.เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ 42.12 -45.49 5.เครื่องดื่ม 39.93 -29.02 6.เคมีภัณฑ์ 38.64 -7.01 10.ผ้าผืน 20.55 -21.76 11.เครื่องยนต์สันดาปภายในแบบลูกสูบ 20.33 -49.71 12.อาหารสัตว์เลี้ยง 19.91 -9.43 13.รถจักรยานยนต์และส่วนประกอบ 17.64 -74.60 14.รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ 15.01 -71.20 15.เครื่องจักรกลและส่วนประกอบของเครื่องจักรกล 14.33 -36.65 16.ผลิตภัณฑ์พลาสติก 13.03 -36.53 17.นมและผลิตภัณฑ์นม 12.23 -3.05 19.ยานพาหนะอื่น ๆ และส่วนประกอบ 10.38 -47.80 20.กระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษ 9.71 -21.30 21.ผลิตภัณฑ์เภสัชภัณฑ์ 9.55 -28.55 23.เม็ดพลาสติก 7.74 -34.09 4.4 ข้อมูลเพิ่มเติม
รัฐบาลกัมพูชาประกาศดำเนินนโยบายการค้าตามแบบเสรีโดยอาศัยกลไกตลาด โดยมุ่งเน้นบทบาทที่จะไม่แทรกแซงราคาสินค้าหรือบริการ นอกจากชี้แนะแนวนโยบายด้านการค้าให้นักธุรกิจภายในและชาวต่างชาติให้ประกอบธุรกิจสอดคล้องกับทิศทางนโยบายและกฎหมายของประเทศ สร้างสิ่งอำนวยความสะดวกและสาธารณูปโภคให้เพียงพอและเอื้อต่อการค้า เช่น ปรับปรุงบูรณะถนนที่มีอยู่ สนับสนุนให้มีการผลิตสินค้าในประเทศกัมพูชาให้มีปริมาณและคุณภาพดีมากยิ่งขึ้น เสริมสร้างความสัมพันธ์ ด้านการค้าระหว่างประเทศ เชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างตลาดภายในกับตลาดต่างประเทศเพื่อผลประโยชน์ซึ่งกันและกัน รัฐบาลกัมพูชาเปิดรับการลงทุนในทุกด้าน นักลงทุนต่างชาติสามารถลงทุนและถือหุ้นร้อยละ 100 ในกิจการต่างๆ ทั้งสามารถถือครองทรัพย์สินต่างๆ ได้โดยเสรี ยกเว้นที่ดินและอสังหาริมทรัพย์ซึ่งสงวนไว้สำหรับบุคคลในชาติและมีอาชีพหรือธุรกิจ ที่สงวนสำหรับบุคคลในชาติหรือต้องร่วมลงทุนกับคนในชาติเพียงไม่กี่รายการเช่น มัคคุเทศก์นำเที่ยว โรงสีข้าว และโรงอิฐ เป็นต้น
หน่วยงานวิเคราะห์เศรษฐกิจเช่น World Bank และ IMF ต่างออกมาปรับตัวเลขคาดการณ์อัตราเติบโตของเศรษฐกิจในปี 2552 ใหม่โดย World Bank คาดการณ์ว่าเศรษฐกิจกัมพูชาจะมีอัตราเติบโตติดลบ ร้อยละ -1.0 ขณะที่ IMF คาดการณ์ในทำนองเดียวกันคือตัวเลขติดลบ ร้อยละ - 0.5 จากเดิมที่เคยคาดการณ์ที่ร้อยละ 4.9
เพื่อกระตุ้นการส่งออกของไทยไปยังกลุ่มCLMVให้มากขึ้นในช่วงครึ่งหลังของปีนี้ กรมส่งเสริมการส่งออกร่วมกับภาคเอกชนจะวางแผนในการรุกกิจกรรมส่งเสริมการส่งออกอย่างต่อเนื่อง โดยในส่วนของตลาดกัมพูชา จะมุ่งเน้นกลยุทธ์การค้าเคลื่อนที่โดยรวมกลุ่มพ่อค้า-แม่ค้าของไทยจัดคาราวานสินค้าอุปโภค-บริโภคจำเป็นไปจำหน่ายในจังหวัดต่างๆ ของกัมพูชาในลักษณะตลาดนัดเคลื่อนที่ ซึ่งขณะนี้ได้จัดไปแล้วหลายจังหวัด และจะยังจัดในอีกหลายเมือง รวมถึงการร่วมกับห้างสรรพสินค้าในกัมพูชาจัดงานเทศกาลต่างๆ ในกัมพูชา เช่น ไทยนู้ดเดิ้ล เฟสติวัล เป็นต้น
ระหว่างวันที่ 1-24 กรกฎาคม 2552 บีโอไอร่วมกับสถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดกิจกรรม Connection Building Mission ประเทศกัมพูชา เส้นทาง กรุงเทพฯ-เสียมเรียบ-พนมเปญ โดยมีเป้าหมายที่จะสร้างโอกาสให้ผู้ประกอบการไทย ในการไปลงทุนในประเทศเพื่อนบ้าน และรองรับการลงทุนจากกลุ่มประเทศเพื่อนบ้านโดยกิจกรรมนี้จะหารือถึงลู่ทางการส่งเสริมการลงทุนของไทยในเสียมเรียบ ศึกษาเส้นทางการขนส่งรอบเมืองและสำรวจศูนย์กลางแหล่งกระจายสินค้าของจังหวัดเสียมเรียบ สำหรับสถิติการลงทุนของผู้ประกอบการไทยในกัมพูชานั้น มีผู้ประกอบการไทยไปลงทุนในกัมพูชา 65 โครงการ ได้แก่กิจการประเภทสินค้าอาหาร กิจการโรงพยาบาลและธนาคารเป็นต้น คิดเป็นมูลค่าการลงทุนประมาณ 287 ล้านเหรียญสหรัฐ ทั้งนี้จากการวิเคราะห์โอกาสการเข้าไปลงทุนยังประเทศกัมพูชาพบว่า กัมพูชาเป็นแหล่งที่มีทรัพยากรธรรมชาติมาก อาทิ อัญมณี สินแร่ รวมถึงสัตว์น้ำ เพราะมีแหล่งจับสัตว์น้ำจืดขนาดใหญ่ครอบคลุมพื้นที่ถึง 10,000 ตารางกิโลเมตร จึงเป็นโอกาสดีที่ไทยจะเข้าไปลงทุนในอุตสาหกรรมเกษตรและการแปรรูป ที่เป็นอุตสาหกรรมสำคัญที่ไทยมีศักยภาพรัฐบาลกัมพูชาให้ความสำคัญกับการลงทุนในประเทศอย่างมาก จึงมีนโยบายส่งเสริมและปรับปรุงแก้ไขระเบียบการลงทุนเพื่อเอื้อต่อนักลงทุนต่างชาติ เช่น การอำนวยความสะดวกและการให้สิทธิประโยชน์ต่างๆ จึงเป็นโอกาสอันดีของผู้ประกอบการไทยที่จะเข้าไปลงทุนเพื่อขยายกิจการในประเทศกัมพูชามากยิ่งขึ้น คาดว่าจะมีผู้ประกอบการร่วมเดินทางในกิจกรรมครั้งนี้ประมาณ 20 ราย
ที่มา: http://www.depthai.go.th