ตลาดสินค้าอาหาร ผักและผลไม้สด ในสหภาพยุโรป และกรณีศึกษาในสหราชอาณาจักร

ข่าวเศรษฐกิจ Tuesday December 15, 2009 12:25 —กรมส่งเสริมการส่งออก

1. การนาเข้าสินค้าอาหารของสหภาพยุโรป 15 ประเทศ

1.1 การนาเข้าจากทั่วโลก

ตาราง 1 : มูลค่าสินค้าอาหารนาเข้าจากทั่วโลกของ EU 15 ประเทศ ในช่วง 7 เดือนแรกของปี 2552 (มกราคม-กรกฎาคม 2552)

มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐ

สินค้าอาหารนาเข้าตามหมวด                              มค.-กค.51     มค.-กค.52      อัตราการขยายตัว (%)
1. ผลไม้และลูกนัด พิกัด 08                               12,434.27    10,080.17        -18.93
   - กล้วย                                            2,627.71     2,226.17        -15.28
   - องุ่นสด                                           1,190.39       999.45        -16.04
   - แอปเปิ้ล                                            979.43       769.37        -21.45
   - สัปปะรด                                            595.01       433.98        -27.06
   - ลูก pear                                           436.60       410.75         -5.92
   - ส้ม oranges                                        369.02       269.67        -26.92
2. หมวดปลาและอาหารทะเล                              11,242.43     9,175.99        -18.38
   - เนื้อปลาแบบฟิลเลแช่แข็ง                              2,620.32     2,210.38        -15.64
   - กุ้งแช่แข็ง                                         1,511.18     1,275.97        -15.56
   - ปลาแซลมอลสดหรือแช่เย็น                             1,233.99     1,231.54         -0.20
3. หมวดเนื้อสัตว์ พิกัด 02                                 4,866.78     4,009.32        -17.62
   - เนื้อวัวสด/แช่เย็น                                   1,191.87     1,040.14        -12.73
   - เนื้อแกะหรือแพะ                                    1,078.47       948.92        -12.01
   - เนื้อไก่/ไก่งวง                                     1,015.18       681.22        -32.90
4. หมวดของปรุงแต่งจากเนื้อสัตว์/ปลา พิกัด 16                 4,409.42     3,990.11         -9.51
   - ปลาทูน่าปรุงแต่ง                                    1,282.90     1,210.49         -5.64
   - ไก่ปรุงแต่ง                                          770.65       726.04         -5.79
5. หมวดธัญพืช พิกัด 10                                   6,359.95     3,665.32        -42.37
   - ข้าวสาลี/เมสลิน                                    1,541.33     1,666.84          8.14
   - ข้าวโพด                                          2,582.76     1,018.29        -60.57
   - ข้าว                                               924.92       662.07        -28.42
6. Preserved Food                                    4,298.45     3,441.78        -19.93
   - น้ำผัก/ผลไม้                                       1,920.14     1,439.53        -25.03
   - ผลไม้/ลูกนัด                                       1,177.03       915.11        -22.25
7. หมวดผัก                                            3,981.20     3,157.12        -20.70
   - ผักแช่แข็ง                                           413.68       353.75        -14.49
   - มะเขือเทศสด/แช่เย็น                                  263.57       300.30         13.94
   - ถั่วบีนสด/แช่เย็น                                      306.19       252.65        -17.49
   - พริกสด/แช่เย็น                                       278.89       230.94        -17.18
   - ถั่วคิดนีย์บีนแบบ dried shelled                         241.53       228.17         -5.53
8. Miscellaneous food                                2,052.08     1,990.37         -3.01
   - อาหารปรุงแต่งอื่นๆ                                  1,003.28       972.15         -3.10
   - ซ๊อสและเครื่องปรุงรส                                  299.34       331.40         10.71
9. หมวดนม/ไข่                                         2,359.23     1,668.61        -29.27
   - cheese                                            741.70       545.30        -26.48
10. น้าตาล                                            1,899.02     1,504.44        -20.78
11. baking related                                   1,214.92     1,141.79         -6.02
       รวมทั้งสิ้น                                      55,117.75    43,825.02        -20.49
แหล่งที่มา : World Trade Atlas

ตัวเลขล่าสุด ช่วง 7 เดือนแรกของปี 2552 EU 15 ประเทศมีการน้าเข้าสินค้าอาหารจากทั่วโลกรวมทั้งสิ้นประมาณ 43,825.02 ล้านเหรียญสหรัฐ ลดลงร้อยละ 20.49 จากช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้า โดยสินค้าน้าเข้าอันดับ 1 คือ หมวดผลไม้และลูกนัด ตามด้วย ปลาและอาหารทะเล เนื้อสัตว์ ของปรุงแต่งจากเนื้อสัตว์/ปลา ธัญพืช preserved food ผัก อาหารปรุงแต่ง/ซ๊อสต่างๆ นม/ไข่ น้ำตาล ขนม/ขนมปัง

1.2 การนาเข้าจากไทยของ EU -15

ตาราง 2 มูลค่าสินค้าอาหารนาเข้าจากไทยของ EU 15 ประเทศ ในช่วง 7 เดือนแรกของปี 2552 (มกราคม-กรกฎาคม 2552)

มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐ

สินค้าอาหารนาเข้าตามหมวด                   ม.ค.-ก.ค. 51    ม.ค.-ก.ค. 52          อัตราการขยายตัว (%)
1. อาหารปรุงแต่งจากเนื้อสัตว์/ปลา                789.13          797.07                   1.01
   - เนื้อไก่ปรุงแต่ง                           458.21          412.95                  -9.88
   - ปลาทูน่าปรุงแต่ง                          148.15          187.95                  26.87
2. ปลาและอาหารทะเล                         238.42          231.82                  -2.77
   - กุ้งแช่แข็ง                                63.65           74.81                  17.54
   - ปลาหมึกแช่แข็ง                            88.85           63.65                 -28.36
3. preserved food                          277.04          230.19                 -16.91
   - สัปปะรดกระป๋อง                          129.64          101.79                 -22.49
   - น้ำสัปปะรดกระป๋อง                         55.04           52.52                  -4.57
4. ธัญพืช                                    238.76          215.64                  -9.68
   - ข้าว                                   238.09          215.17                  -9.63
5. Miscellaneous food                       65.91           69.61                   5.61
   - ซ๊อส และเครื่องปรุงรส                      35.10           34.74                  -1.04
   - อาหารปรุงแต่งอื่นๆ                         22.63           27.61                  22.04
6. baking related                           46.77           46.78                   0.03
   - พาสต้า                                  19.83           22.54                  13.68
7. ผัก                                      299.99           37.13                 -87.62
   - ข้าวโพดสด/แช่เย็น                         18.11            9.56                 -47.22
   - ผักอื่นๆ สด/แช่เย็น                         12.65            9.02                 -28.72
8. ผลไม้และลูกนัดที่บริโภคได้                      31.39           23.54                 -25.01
   - มะขามสด                                 5.41            4.28                 -20.81
   - มะม่วง มังคุด ฝรั่ง                          3.70            3.34                  -9.55
   - สัปปะรด                                  2.82            1.11                 -60.52
   - ทุเรียน                                   2.14            1.52                 -28.71
         รวมทั้งสิ้น                          1987.41         1651.78                 -16.89
แหล่งที่มา : World Trade Atlas

EU 15 ประเทศมีการน้าเข้าสินค้าอาหารจากไทยรวมทั้งสิ้นประมาณ 1,651.78 ล้านเหรียญสหรัฐ ในช่วง 7 เดือนแรกของปี 2552 ลดลงร้อยละ 16.89 จากช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้า สินค้าน้าเข้าที่มีมูลค่าสูงเป็นอันดับ 1 คือ ของปรุงแต่งจากเนื้อไก่/ปลาทูน่า ตามด้วย กุ้งและปลาหมึกแช่แข็ง ผลไม้/น้ำผลไม้กระป๋อง ข้าว ซ๊อสและเครื่องปรุงรส พาสต้าปรุงแต่ง ผัก และ ผลไม้สด ตามล้าดับ การน้าเข้าลดลงในเกือบทุกหมวดสินค้า ยกเว้น ปลาทูน่าปรุงแต่ง กุ้งแช่แข็ง อาหารปรุงแต่งอื่นๆ และพาสต้าที่มีการน้าเข้าเพิ่มขึ้น

2. การนาเข้าสินค้าอาหารของสหราชอาณาจักร
2.1 การนาเข้าสินค้าอาหารจากทั่วโลก
ตาราง : มูลค่าสินค้าอาหารนาเข้าจากทั่วโลกของสหราชอาณาจักรในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2552

มูลค่า ล้านเหรียญสหรัฐ

สินค้าอาหารนาเข้าตามหมวด                        ม.ค.-ก.ย. 51    ม.ค.-ก.ย. 52        อัตราการขยายตัว (%)
1. เนื้อสัตว์                                      4884.53         3852.65                 -21.13
   - เนื้อหมู เค็ม/smoke                            930.67          776.63                 -16.55
   - เนื้อหมูสดหรือแช่แข็ง                           1016.90          731.36                 -28.08
   - เนื้อไก่สด/แช่เย็น                              538.27          421.45                 -21.71
   - เนื้อไก่แช่แข็ง                                 462.07          385.81                 -16.51
2. ผลไม้และลูกนัตที่บริโภคได้                         4421.18         3420.73                 -22.63
   - กล้วย                                       575.04          539.27                  -6.22
   - แอปเปิ้ลสด                                   531.37          413.07                 -22.26
   - องุ่นสด                                      505.12          380.66                 -24.64
3. ผัก                                          3535.03         2692.02                 -23.85
   - มะเขือเทศสด/แช่เย็น                           594.46          475.19                 -20.06
   - ผักแช่แข็ง                                    391.73          321.20                 -18.01
   - พริกหวาน                                    271.45          183.10                 -32.55
   - เห็ด                                        221.36          153.96                 -30.45
4. ของปรุงแต่งจากเนื้อสัตว์/ปลา                      3006.87         2551.60                 -15.14
   - ไก่                                         625.71          587.19                  -6.16
   - ปลาทูน่า                                     419.24          301.55                 -28.06
   - เนื้อวัว                                      312.08          266.06                 -14.75
5. ผลิตภัณฑ์นม/ไข่/น้าผึ้ง                            3196.83         2441.21                 -23.64
   - cheese                                    1753.22         1328.26                 -24.24
6. Baking related (cake/คุกกี้/pasta)             2704.77         2272.27                 -15.99
7. Miscellaneous food                          2486.34         2241.86                  -9.83
   - น้ำตาลเชื่อม (sugar syrups)                   721.79          592.03                 -17.98
   - ซ๊อสและเครื่องปรุงรส                           471.50          409.00                 -13.26
8. Preserved food                              2602.30         2111.60                 -18.86
   - น้ำผัก/ผลไม้                                  981.85          672.86                 -31.47
   - มะเขือเทศ                                   315.98          346.35                   9.61
9. ปลาและอาหารทะเล                             2055.72         1569.30                 -23.66
   - เนื้อปลาแบบฟิลเลแช่แข็ง                         793.27          523.57                 -34.00
   - เนื้อปลาแบบฟิลเลสด                            220.18          184.63                 -16.15
   - เนื้อปลา salmon สดแบบไม่ฟิลเล                  126.25          112.18                 -11.14
   - กุ้งแช่แข็ง                                    211.67          215.13                   1.64
10. ธัญพืช                                       1374.57          951.62                 -30.77
   - ข้าว                                        530.44          410.34                 -22.64
   - wheat/Meslin                               485.57          323.28                 -33.42
   - ข้าวโพด                                     271.80          175.22                 -35.53
            รวมทั้งสิ้น                           30268.14        24104.86                 -20.37
แหล่งที่มา : World Trade Atlas

สหราชอาณาจักรน้าเข้าสินค้าอาหารจากทั่วโลกมูลค่ารวมประมาณ 24,104.86 ล้านเหรียญสหรัฐ ในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2552 ลดลงร้อยละ 20.37 จากช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้า โดยการน้าเข้าเนื้อสัตว์มีมูลค่าสูงเป็นอันดับหนึ่ง ตามด้วยผลไม้และลูกนัด ผัก และของปรุงแต่งจากเนื้อสัตว์/ปลา ตามล้าดับ

2.2 การนาเข้าสินค้าอาหารจากไทย
ตาราง มูลค่าสินค้าอาหารนาเข้าจากประเทศไทยในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2552

มูลค่า ล้านเหรียญสหรัฐ

สินค้าอาหารนาเข้าตามหมวด                      ม.ค.-ก.ย. 51    ม.ค.-ก.ย. 52          อัตราการขยายตัว (%)
1.อาหารปรุงแต่งจากเนื้อสัตว์/ปลา                    478.15          462.11                  -3.35
   - เนื้อไก่                                    358.10          333.68                  -6.82
   - เนื้อปลา (ทูน่า)                              42.27           41.53                  -1.76
   - กุ้ง                                        24.76           40.79                  64.74
2. ปลาและอาหารทะเล                             36.01           39.32                   9.20
   - กุ้งแช่แข็ง                                   24.87           29.46                  18.46
3. preserved food                              47.09           39.20                 -16.76
   - สัปปะรดกระป๋อง                              16.07           13.27                 -17.41
   - ข้าวโพดหวานกระป๋อง                          17.62           15.24                 -13.53
4. ธัญพืช
   - ข้าว                                       45.32           36.75                 -18.91
5. Miscellaneous food                          24.77           23.16                  -6.49
   - ซ๊อสและเครื่องปรุงรส                          13.54           13.36                  -1.32
6. baking related                              16.91           17.75                   4.99
   - cakes                                      5.23            9.24                  76.59
7. ผัก                                          29.78           16.14                 -46.50
   - ข้าวโพดหวานสด                              19.07            9.73                 -48.97
8. ผลไม้และลูกนัดที่บริโภคได้                          8.50            5.41                 -36.36
     รวมทั้งสิ้น                                  686.53          639.84                  -6.81
แหล่งที่มา : World Trade Atlas

สหราชอาณาจักรน้าเข้าสินค้าอาหารจากไทยมูลค่ารวมประมาณ 639.84 ล้านเหรียญสหรัฐ ในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2552 ลดลงร้อยละ 6.81 จากจากเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้า โดยสินค้าอาหารน้าเข้าอันดับ 1 คือ อาหารปรุงแต่งจากเนื้อสัตว์/ปลา ตามด้วยปลาและอาหารทะเล ผัก/ผลไม้กระป๋อง ข้าว ซ๊อสและเครื่องปรุงรส เค้ก ผัก และผลไม้สด ตามล้าดับ สินค้าส่วนใหญ่มีการขยายตัวของการน้าเข้าลดลง ยกเว้น อาหารปรุงแต่งจากกุ้ง และกุ้งแช่แข็ง ที่มีการขยายตัวของการน้าเข้าเพิ่มขึ้น

2.3 การนาเข้าผัก/ผลไม้สดของสหราชอาณาจักร
2.3.1 การนาเข้าผักสด
     2.3.1.1  การนาเข้าผักสดจากทั่วโลก                       มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐ
รายการผักนาเข้าสาคัญ                มูลค่า (ม.ค.-ก.ย. 52)       อัตราการขยายตัว (%)
1.มะเขือเทศ                           475.19                     -20.06
2.พริกหวาน                            183.10                     -32.55
3.เห็ด                                153.96                     -30.45
4.หอมใหญ่/หอมแดง                      130.83                     -28.13
5.ดอกกะหล่ำ/บร๊อกโคลี่หัว                 122.21                       3.20
6.แตงกวา                             119.80                     -13.91
7.ผัก lettuce                         108.63                     -20.22
8.มันฝรั่ง                              103.50                     -50.18
9.ถั่ว beans                            78.63                     -24.53
     รวมทั้งสิ้น                       2,692.02                     -23.85
แหล่งที่มา : World Trade Atlas

ตัวเลขล่าสุด ในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2552 สหราชอาณาจักรน้าเข้าผักจากทั่วโลก มูลค่ารวม 2,692.02 ล้านเหรียญสหรัฐ ลดลงร้อยละ 23.85 จากช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้า โดยเป็นการน้าเข้าผักสดหรือแช่เย็น (fresh or chilled) มูลค่า 2,301.11 ล้านเหรียญสหรัฐ ประกอบด้วย มะเขือเทศเป็นอันดับหนึ่ง ตามด้วยพริกหวาน เห็ด หอมใหญ่/หอมแดง ดอกกะหล่ำ/บร๊อกโคลี่หัว แตงกวา ผักกาดหอม (lettuce) มันฝรั่ง ถั่วบีน และอื่นๆ ตามล้าดับ

แหล่งนาเข้าสาคัญ: สหราชอาณาจักรมีการน้าเข้าผักสดและแช่เย็นจากแหล่งหลากหลาย ส่วนใหญ่เป็นการน้าเข้าจากประเทศสมาชิกสหภาพยุโรป โดยมีแหล่งน้าเข้าส้าคัญตามล้าดับ ดังนี้ เนเธอร์แลนด์ เสปน ฝรั่งเศส เบลเยี่ยม ไอร์แลนด์ อิตาลี เคนย่า แคนาดา โปร์แลนด์ ตามล้าดับ (ส้าหรับไทย อยู่ในอันดับที่ 21) การน้าเข้าลดลงจากทุกประเทศข้างต้น ยกเว้นจากแคนาดา

2.3.1.2 การนาเข้าผักสดจากไทย :

  • สหราชอาณาจักรน้าเข้าผักจากไทยในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2552 มูลค่ารวม 16.14 ล้านเหรียญสหรัฐ ลดลงร้อยละ 45.79 โดยเป็นการน้าเข้าผักสดหรือแช่เย็น มูลค่า 15.02 ล้านเหรียญสหรัฐ อันดับหนึ่ง คือ ข้าวโพดหวาน (9.73 ล้านเหรียญสหรัฐ ลดลงร้อยละ 48.97 จากช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้า) ตามด้วย asparagus (2.18 ล้านเหรียญสหรัฐ ลดลงร้อยละ 45.85)
  • สำหรับข้าวโพดหวาน ไทยครองตลาดอันดับ 1 ตามด้วยฝรั่งเศส สเปน อินเดีย Mozambique สหรัฐฯ Senegal ตามล้าดับ โดยการน้าเข้าจากไทยและฝรั่งเศสลดลง ในขณะที่การน้าเข้าจากสเปน อินเดีย Mozambique สหรัฐฯ Senegal เพิ่มขึ้น
  • ในส่วนของ Asparagus นั้น เปรูครองตลาดอันดับ 1 ตามด้วยเม็กซิโก ไทย สเปน เนเธอร์แลนด์ ตามล้าดับ โดยการน้าเข้าจากทุกประเทศลดลง ยกเว้นจากเม็กซิโก
2.3.2 การนาเข้าผลไม้สด

2.3.2.1 การนาเข้าผลไม้สดจากทั่วโลก ตาราง : มูลค่าการนาเข้าผลไม้สดของสหราชอาณาจักรจากทั่วโลกจาแนกตามประเภทของผลไม้ (เดือนมกราคม-กันยายน 2552)

มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐ

        ประเภทผลไม้                      ม.ค.-ก.ย.2552         อัตราการขยายตัว %
(แหล่งนาเข้าสาคัญ)
1. กล้วย  (โคลัมเบีย คอสตาริก้า )               539.27                 -6.22
2. แอปเปิ้ล (แอฟริกาใต้ ฝรั่งเศส)                413.07                -22.26
3. องุ่น (ชิลี แอฟริกาใต้ สเปน)                  380.66                -24.64
4. ส้ม mandarins (สเปน แอฟริกาใต้)            185.22                -17.31
5. ส้ม orange (สเปน แอฟริกาใต้)               157.68                -24.65
6. สตรอเบอร์รี่ (สเปน เนเธอร์แลนด์)             113.72                -31.49
7. สัปปะรด (คอสตาริก้า กาน่า)                  102.25                -11.13
8. ลูกพีช                                     88.79                -34.89
9. มะนาว (สเปน แอฟริกาใต้)                    66.87                -45.55
     รวมจากทั่วโลก                         3,082.05                -21.99
แหล่งที่มา : World Trade Atlas

สหราชอาณาจักรน้าเข้าผลไม้สดจากทั่วโลกมูลค่าประมาณ 3,082.05 ล้านเหรียญสหรัฐ ในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2552 ลดลงร้อยละ 21.99 จากช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้า ประเภทผลไม้สดที่มีการน้าเข้าในอันดับหนึ่ง คือ กล้วย ตามด้วยแอปเปิ้ล องุ่น ส้ม สตรอเบอร์รี่ สัปปะรด ลูกพีช และ มะนาว ตามล้าดับ แหล่งน้าเข้าส้าคัญ คือ สเปน แอฟริกาใต้ เนเธอร์แลนด์ ชิลี คอสตาริก้า ฝรั่งเศส อิตาลี สหรัฐฯ โคลัมเบีย ตามล้าดับ การน้าเข้าจากไทยอยู่ในอันดับที่ 46

2.3.2.2 การนาเข้าผลไม้สดจากประเทศไทย ตาราง 3 : มูลค่าการนาเข้าผลไม้สดของสหราชอาณาจักรจากประเทศไทย (เดือนมกราคม-กันยายน 52)

มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐ

          ประเภทผลไม้                  ม.ค.-ก.ย. 52        อัตราการขยายตัว %
1. มะขาม/ลิ้นจี่/ขนุน/กระทกรก/มะเฟือง/
    เสาวรส/ผลของมะม่วงหิมพานต์                1.17              -25.19
2. มะละกอ                                  1.06              -35.28
3. ฝรั่ง/ มะม่วง/มังคุด                         0.28              -49.47
4. ทุเรียน                                   0.15              -57.32
5. สัปปะรด                                  0.11              -91.04
      รวม                                  5.41              -36.36
แหล่งที่มา : World Trade Atlas

สหราชอาณาจักรน้าเข้าผลไม้สดจากไทยมูลค่า 5.41 ล้านเหรียญสหรัฐ ในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2552 ลดลงร้อยละ 36.36 จากช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้า โดยน้าเข้า มะขาม/ลิ้นจี่/ขนุน/กระทกรก/มะเฟือง/เสาวรส/ผลของมะม่วงหิมพานต์ สูงเป็นอันดับ 1 ตามด้วยมะละกอ ฝรั่ง/ มะม่วง/มังคุด ทุเรียน และสัปปะรดตามล้าดับ

2.3.3 โอกาสทางการค้าสาหรับผลไม้ไทยรายชนิด

(1) มะละกอ :

  • สหราชอาณาจักรน้าเข้าจากทั่วโลก 13.38 ล้านเหรียญสหรัฐ ลดลงร้อยละ 18.44 โดยมีบราซิลเป็นอันดับ 1 (5.62 ล้านเหรียญสหรัฐ ลดลง 27.62 %) ตามด้วยปากีสถาน (2.41 ล้านเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้น 132.49 %) และอินเดีย (1.42 ล้านเหรียญสหรัฐ ลดลง 8.01%) ไทย (1.06 ล้านเหรียญสหรัฐ ลดลง 35.28%)
  • สำหรับมะละกอ ยังมีช่องทางขยายตลาดได้อีก เนื่องจากสหภาพยุโรปไม่เก็บภาษีน้าเข้าจากทั่วโลก แต่ปัญหา คือ สหภาพยุโรปต่อต้านการตัดแต่งพันธุกรรม (GMO) และ sensitive ในเรื่องนี้มาก ที่ผ่านมา ได้เคยเกิดความไม่มั่นใจว่ามะละกอไทยเป็นมะละกอ GMO หรือไม่ เนื่องจาก ไทยมีการทดลองปลูกมะละกอจีเอ็มโอ นอกจากนี้ ต้องระวังเรื่องของเชื้อรา ในส่วนของพฤติกรรมการบริโภค ผู้บริโภคในตลาดสหภาพยุโรปชมชอบมะละกอขนาดเล็กมากกว่าขนาดใหญ่

(2) ฝรั่ง/ มะม่วง/มังคุด :

  • สหราชอาณาจักรน้าเข้าจากทั่วโลก 64.78 ล้านเหรียญสหรัฐ ลดลงร้อยละ 28.99 โดยมีปากีสถานอันดับ 1 (15.53 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลง 24.46%) ตามด้วยเนเธอร์แลนด์ (5.86 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลง 25.92%) บราซิล (5.84 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลง 27.28%) เปรู (4.82 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลง 42.28%) การน้าเข้าจากไทยอยู่ในอันดับที่ 21
  • สหภาพยุโรปไม่เก็บภาษีน้าเข้าผลไม้ทั้ง 3 ชนิดจากทั่วโลก

(3) กล้วย

  • แม้ว่า กล้วยจะเป็นผลไม้น้าเข้าอันดับหนึ่งของสหราชอาณาจักร แต่กล้วยเป็นผลไม้ที่เข้าสู่ตลาดได้ยาก เนื่องจากสหภาพยุโรปได้ก้าหนดมีกฎเกณฑ์การน้าเข้าที่เอื้ออ้านวยต่อการน้าเข้าจากบางประเทศ แม้ว่าจะได้มีความพยายามเจรจาเปิดตลาดในกรอบองค์การการค้าโลกก็ตาม
  • สหราชอาณาจักรน้าเข้าจากโคลัมเบียอันดับหนึ่ง ตามด้วยคอสตาริก้า Dominican Republic และ Cameroon ตามล้าดับ (Dominican Republic และ Cameroon เป็นประเทศในกลุ่ม ACP)
- ประเด็นอุปสรรคทางการค้าเกี่ยวข้องกับนโยบายการนาเข้ากล้วยของสหภาพยุโรป
  • ในอดีต สหภาพยุโรปมีนโยบายการน้าเข้ากล้วยที่เอื้อประโยชน์ต่อประเทศเมืองขึ้นเก่า คือ กลุ่มแอฟริกา แคริเบียน และแปซิฟิก (ACP)โดยการไม่เรียกเก็บภาษี (duty free) โดยอ้างว่า เพื่อช่วยเหลือประเทศเหล่านี้ในการพัฒนาเศรษฐกิจ เนื่องจากกล้วยเป็นสินค้าส่งออกที่เป็นรายได้หลักของประเทศเหล่านี้ และจ้ากัดการน้าเข้ากล้วยจากแหล่งอื่นด้วยโควต้า และภาษี จึงได้ถูกหลายประเทศสมาชิก WTO ฟ้องร้อง เริ่มจากประเทศอเมริกาใต้ ซึ่งในการเจรจากับกลุ่มประเทศอเมริกาใต้ สหภาพยุโรปได้จัดท้า Banana Framework Agreement ขยายโควต้าให้ประเทศเหล่านี้ ต่อมาสหรัฐฯได้ฟ้องร้องสหภาพยุโรปเนื่องจากการขยายโควต้าให้แก่กลุ่มประเทศดังกล่าว ท้าให้บริษัทผู้ผลิต/ส่งออกกล้วยสหรัฐฯได้รับผลกระทบ การเจรจาระหว่างสหรัฐฯและสหภาพยุโรปยืดเยื้อเป็นเวลานาน ล่าสุดสหภาพยุโรปได้ปรับนโยบายเป็น tariff only import regime และขอ waivers จาก WTO เป็นผลสำเร็จในการให้สิทธิพิเศษ (ซึ่งไม่จำกัดเฉพาะ tariff preferences) แก่กล้วยน้าเข้าจากประเทศ ACP ภายใต้ ACP-EC Partnership Agreement (the Cotonou Agreement) ต่อไป
  • ปัจจุบัน นอกหนือจากประเทศ ACP ที่ไม่เสียภาษีน้าเข้าแล้ว ประเทศในกลุ่มประเทศอเมริกากลางและใต้ที่มีการจัดท้าแผนต่อต้านการผลิตยาเสพติด (South and Central American Countries establishing programs to combat drug production -SPGE) ก็ได้รับสิทธิพิเศษจากสหภาพยุโรปไม่ต้องเสียภาษีน้าเข้าด้วยเช่นกัน
  • สำหรับประเทศไทยได้รับสิทธิพิเศษทางภาษีภายใต้กรอบ GSP โดยเสียภาษีน้าเข้าที่ร้อยละ 12.5 ในขณะที่ภาษีในอัตราทั่วไปอยู่ที่ร้อยละ 16
  • การที่สหภาพยุโรปมีความตกลงกับประเทศ ACP และประเทศในกลุ่มอเมริกาใต้ผู้ส่งออกกล้วย ซึ่งไม่ต้องเสียภาษีน้าเข้า ท้าให้กล้วยจากประเทศเหล่านี้มีราคาถูกกว่ากล้วยน้าเข้าจากไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งกล้วยจากกลุ่มอเมริกาใต้ซึ่งมีการผลิตแบบ large scale plantation จึงเห็นได้จากสถิติว่า การน้าเข้ากล้วยของสหราชอาณาจักรจะมาจากประเทศเหล่านี้เป็นหลัก

(4) สัปปะรด

  • สหราชอาณาจักรน้าเข้าจากทั่วโลก 102.25 ล้านเหรียญสหรัฐ ลดลงร้อยละ 11.13 โดยมีคอสตาริก้าอันดับหนึ่ง โดยการน้าเข้าจากคอสตาริก้ามีสัดส่วนสูงถึงร้อยละ 75.92 ของการน้าเข้าจากทั่วโลก ตามด้วย กาน่า เนเธอร์แลนด์ ปานามา และ Ivory Coast ทั้งนี้การน้าเข้าจากไทยอยู่ในอันดับที่ 15

- อุปสรรคทางการค้าสาหรับสัปปะรด

* คอสตาริก้าจัดอยู่ในกลุ่มประเทศอเมริกากลางและใต้ที่มีการจัดท้าแผนต่อต้านการผลิตยาเสพติด (South and Central American Countries establishing programs to combat drug production -SPGE) จึงได้รับสิทธิพิเศษทางภาษีจากสหภาพยุโรปไม่ต้องเสียภาษีน้าเข้าสัปปะรด (อนึ่ง การผลิตสัปปะรดในคอสตาริก้ามีบริษัทข้ามชาติสัญชาติอเมริกัน Dole Food Company และ Del Monte Foods เป็นผู้ผลิตรายใหญ่)

* ส่วนกานา และ Cote d’Ivoire อยู่ในกลุ่มประเทศ ACP ซึ่งมีความ

ตกลง ACP-EC Partnership Agreement จึงไม่เสียภาษีน้าเข้าด้วยเช่นกัน

*ส้าหรับประเทศไทยได้รับสิทธิพิเศษทางภาษีภายใต้กรอบ GSP ต้องเสียภาษีน้าเข้าที่ร้อยละ 2.3 ในขณะที่อัตราภาษีทั่วไปอยู่ที่ร้อยละ 5.8

5. กฎระเบียบการนาเข้าสินค้าอาหารของสหราชอาณาจักร

5.1 กฎระเบียบการนาเข้าสินค้าอาหารโดยทั่วไป

สหราชอาณาจักรเป็นประเทศสมาชิกสหภาพยุโรป การก้าหนดนโยบาย และกฏระเบียบทางการค้าโดยทั่วไป จึงเป็นไปตามหรือสอดคล้องกับของอียู ซึ่งอาจส่งผลกระทบหรือเป็นข้อจ้ากัดทางการค้าแก่ไทย อย่างไรก็ดี รัฐบาลมีนโยบายการน้าเข้าเสรีโดยภาคเอกชน

ปกติทางการสหราชอาณาจักรมักท้าการตรวจสอบด้านสุขอนามัยสินค้าอาหารอย่างเข้มงวด นอกจากนี้ ยังเข้มงวดเกี่ยวกับมาตรฐานการบรรจุหีบห่อและการปิดฉลากโดยเฉพาะกับสินค้าประเภทอาหารที่ต้องระบุวันผลิต วันหมดอายุ น้ำหนัก ส่วนผสม และผู้ผลิต ส่วนการปิดฉลากต้องปฏิบัติตามข้อบังคับของ QUID (Quantitative Ingredient Declaration) ซึ่งก้าหนดให้ฉลากสินค้าอาหารต้องระบุรายละเอียดสัดส่วนผสมอาหารหลักเป็นเปอร์เซ็นต์เรียงตามล้าดับสัดส่วนจากมากไปหาน้อย อนึ่งการระบุรายละเอียดสินค้าไม่ชัดเจนหรือถูกต้อง อาจท้าให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องของสหราชอาณาจักรไม่อนุญาตให้น้าเข้าได้

ในการน้าเข้าสินค้าประเภทอาหารทะเล หรือสินค้าที่มีส่วนผสมของสัตว์ทะเล เช่น ปลา กุ้ง น้ำปลา จะต้องมีใบรับรองด้าน Hazard Analysis Critical Control Point (HACCP) แนบประกอบการน้าเข้าด้วย นอกจากนี้ สินค้าประเภทเนื้อสัตว์ เนื้อไก่ และสินค้าประมงแปรรูปต้องเป็นสินค้าที่ผลิตไปจากโรงงานที่อยู่ในบัญชีรายชื่อที่ได้รับการรับรองจากอียูแล้วเท่านั้น และ ก้าหนดให้ระบุหมายเลขที่อนุญาตของโรงงาน(Establishment) อย่างชัดเจนทั้งภายนอกและบนหีบห่อบรรจุสินค้า มิเช่นนั้นสินค้าจะถูกส่งกลับหรือท้าลายหากไม่มีการพิมพ์ระบุหมายเลขดังกล่าว อนึ่งปัญหาเรื่องน้ำหนักไม่ครบเป็นประเด็นส้าคัญประการหนึ่ง ที่ผู้น้าเข้าอาจถูกฟ้องร้องด้าเนินคดี และถูกปรับเป็นค่าเสียหายจ้านวนมาก หากสินค้าปรากฏว่าสินค้ามีน้ำหนักไม่ตรงกับที่ระบุไว้

5.2 กฎระเบียบการนาเข้าผัก/ผลไม้สด

5.2.1 Certificate of conformity :

การน้าเข้าผักและผลไม้สดมายังสหราชอาณาจักรมีกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องจ้านวนมาก โดยสินค้าน้าเข้าจากประเทศที่สามเพื่อการบริโภคสด (ผัก ผลไม้ ถั่ว ผักสลัด) โดยส่วนใหญ่จะต้องได้ใบรับรอง certificate of conformity ว่ามีความสอดคล้องกับกฎระเบียบเฉพาะ และกฎระเบียบทั่วไปเกี่ยวกับความปลอดภัยของอาหาร (food safety) รวมถึงข้อก้าหนดด้านมาตรฐาน (food standards requirements) และด้าน food hygiene ภายใต้ Food Law ของสหราชอาณาจักร และของสหภาพยุโรป ก่อน จึงจะสามารถปล่อยออกสู่ท้องตลาดได้ การยื่นขอ certificate of conformity สามารถท้าได้ 2 ช่องทาง คือ

(1) หน่วยงานในประเทศผู้ส่งออกที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมาธิการยุโรปให้เป็น inspection authority เป็นผู้ออกใบ certificates

(2) ผู้น้าเข้าด้าเนินเรื่องขอ ‘conformity certificates’ ผ่านระบบ PEACH ซึ่งอยู่ภายใต้ความรับผิดชอบของหน่วยงานที่ชื่อว่า Horticultural Marketing Inspectorate ของ Department for Environment, Food and Rural Affairs (DEFRA) (website : www.defra.gov.uk)

รายการผักสดที่ต้องขอ certificate of conformity มี ดังนี้ แคร์รอต ต้นหอม มะเขือเทศ หอมหัวใหญ่ ถั่วบีน ถั่ว pea พริกหวาน asparagus สปีนาช กระเทียม celery; courgettes ผักกระหล่ำ ผัก lettuce แตงกวา aubergines ดอกกระหล่ำ Brussels sprouts; artichokes; endives และผักสลัดชิโครี่ ตรวจสอบข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ website : hmi-tdc@rpa.gsi.gov.uk

5.2.2 Phytosanitary certificate : ผลไม้น้าเข้าส่วนใหญ่ (ไม่รวมกล้วยและองุ่น) และสินค้าผักสดบางรายการ ได้แก่ sweet basil และมันฝรั่ง ต้องมีเอกสารรับรองสุขอนามัยพืช (phytosanitary certificate) ในส่วนของไทย หน่วยงานที่ออกใบรับรอง คือ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สามารถสอบถามข้อมูลทางอีเมลได้ที่ planthealth.info@defra.gsi.gov.uk ในส่วนของ England and Wales ; hort.marketing@scotland.gsi.gov.uk ในส่วนของแคว้นสก๊อตแลนด์ และ qab.admin@dardui.gov.uk ในส่วนของไอร์แลนด์เหนือ

5.2.3 ต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบว่าด้วยปริมาณสูงสุดของสารตกค้าง (directive 90/624/EEC)

  • การน้าเข้าผักสดบางชนิด ได้แก่ lettuce และ spinach ต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบว่าด้วยปริมาณสูงสุดของ nitrate ตามที่ก้าหนดไว้ใน EC Commission Regulation (EC) No. 194/97

5.2.4 ผักสดบางชนิด สหราชอาณาจักรก้าหนดอยู่ในรายการสินค้าห้ามน้าเข้า ได้แก่ ใบมะกรูดสด เนื่องจากเพลี้ย

5.2.5 สินค้าผักสดบางรายการ เช่น กระเทียมสด ต้องขอใบอนุญาตน้าเข้า (licence) ภายใต้โควต้าขององค์การการค้าโลก จาก Rural Payments Agency

5.2.6 ประเด็นใหม่ : คณะกรรมาธิการยุโรปเสนอแก้ไข Directive 91/414/EEC ซึ่งเป็นกฎระเบียบที่ก้ากับดูแลการวางจ้าหน่ายผลิตภัณฑ์ยาฆ่าแมลงในสหภาพยุโรป โดยระบุสารในยาฆ่าแมลงที่ใช้ได้และที่ห้ามใช้ ประเด็นส้าคัญในข้อเสนอแก้ไข คือ จะเปลี่ยนแปลงแนวทางการพิจารณาอนุญาตการใช้สารในผลิตภัณฑ์ยาฆ่าแมลง จากปัจจุบันที่ใช้แนวทาง risk based approach เป็น hazard based regime โดยจะมีการ withdraw active substances ที่จัดว่าเป็น hazardous ซึ่งจะส่งผลให้มีการห้ามใช้สารที่ใช้ในยาฆ่าแมลงที่ใช้อยู่ในปัจจุบันสูงถึงประมาณร้อยละ 15 ส่งผลกระทบต่อการน้าเข้าผัก/ผลไม้สดจากนอกสหภาพยุโรป เนื่องจากหากผัก/ผลไม้สดน้าเข้ามีสารตกค้างเป็นสารที่ห้ามใช้ก็จะถูกห้ามน้าเข้า

5.3 ภาษีนาเข้า สามารถตรวจสอบภาษีศุลกากรน้าเข้าสินค้าทุกรายการได้ที่ website ของ คณะกรรมาธิการยุโรป ที่ http://ec.europa.eu/ taxation_customs/dds/cgi-bin/tarchap?Lang=EN โดย click ที่ browse ก่อน เพื่อหารหัส code สินค้า จากนั้นพิมพ์ code ลงไป และ click ประเทศที่เป็นแหล่งน้าเข้า จากนั้น click ที่ customs duties

6. ช่องทางการนาเข้าและจัดจาหน่ายผัก/ผลไม้สด
  • การน้าเข้าสินค้าเกษตรในกรณีเป็นสินค้าประเภทวัตถุดิบมักเป็นการน้าเข้าโดยบริษัทผู้น้าเข้าที่จ้าหน่ายโดยตรง โดยผัก/ผลไม้ไทยส่วนใหญ่น้าเข้าและจัดจ้าหน่ายผ่านห้างซุปเปอร์มาเก็ตเอเชีย (Asian or Oriental supermarkets) และซุปเปอร์มาเก็ตไทยที่มีเจ้าของและด้าเนินกิจการโดยนักธุรกิจไทย ซึ่งมีกลุ่มลูกค้าส้าคัญ ได้แก่ ชาวเอเชีย และชาวต่างชาติที่บริโภคอาหารไทย และกลุ่มภัตตาคารร้านอาหารไทยที่มีจ้านวนกว่า 1,600 รายในสหราชอาณาจักร นอกจากนี้ ห้างซูเปอร์มาเก็ตรายใหญ่ เช่น Tesco; Sainsbury; Asda; Waitrose มีการน้าเข้าผักสดจากไทยผ่านตัวแทนจัดซื้อ (buyers or buying agents) ด้วย
  • Fresh produce consortium เป็น trade association ส้าหรับ fresh produce sector ในสหราชอาณาจักร โดยมีสมาชิกประกอบด้วย ผู้ค้าส่ง ผู้น้าเข้า ผู้บรรจุ ผู้ค้าปลีก สามารถหารายชื่อสมาชิกที่เป็นผู้น้าเข้าได้ที่ website ของ Fresh produce consortium ที่ www.freshproduce.org.uk โดย click ที่ search members

ส้านักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ กรุงลอนดอน

ที่มา: http://www.depthai.go.th


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ