ผลกระทบวิกฤติหนีกรีซทีมีต่อเศรษฐกิจสเปน

ข่าวเศรษฐกิจ Wednesday June 2, 2010 13:51 —กรมส่งเสริมการส่งออก

จากภาวะวิกฤติหนีของกรีซทีอยู่ในอาการสาหัสและเป็นทีกังวลของคนทังโลกนัน คณะกรรมาธิการของสหภาพยุโรปจำเป็นต้องรีบประชุมฉุกเฉินเพือหามาตรการแก้ไขโดยได้ข้อสรุปทีจะสกัดการลุกลามของสถานการณ์ด้วยวงเงินรวมมหาศาลถึง 750,000 ล้านยูโร แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนแรก 60,000 ล้านยูโร โดยคณะกรรมาธิการยุโรปจะเป็นผู้ออกตราสารหนีคำประกันโดยสมาชิก 27 ประเทศ ให้ประเทศทีมีปัญหาทางการเงินในอัตราดอกเบียทีตำกว่าการไปกู้เอง ส่วนทีสอง 440,000 ล้านยูโร จากการจัดตังกองทุนเพือวัตถุประสงค์พิเศษอายุ 3 ปี และคำประกันโดยมวลสมาชิกสหภาพยุโรป และส่วนทีสาม วงเงินกู้จาก IMF อีก 250,000 ล้านยูโร โดยได้ข้อสรุปเมือกลางดึกวันอาทิตย์ที 9 พฤษภาคม 2553 ก่อนถึงเวลาเช้าของวันจันทร์ทีตลาดการเงินจะเปิดทำการอีกครัง ทีมีความเป็นไปได้ทีจะถูกนักเก็งกำไรจากกองทุนการเงินระบบเสรีทีเปรียบเสมือนฝูงสุนัขป่าพร้อมทีจะเข้าถล่มตลาดเงินของยุโรปทีส่ออาการอ่อนแอให้พังพินาศ จึงจำเป็นต้องเข้ากอบกู้สถานการณ์ก่อนทีจะลุกลามบานปลายจนกระทบระบบเศรษฐกิจทัวยุโรปโดยรวม และอาจส่งผลร้ายไปทัวทุกภูมิภาคทัวโลกทีเพิงฟืนจากพิษวิกฤติเศรษฐกิจโลกมาได้ไม่นาน โดยกรีซจะได้รับเงินกู้เพือนำไปแก้ไขปัญหาในเบืองต้นด้วยวงเงิน 110,000 ยูโร พร้อมกับใช้มาตรการตัดลดค่าใช้จ่ายและเพิมภาษีทีส่งผลกระทบกับชีวิตความเป็นอยู่ของผู้บริโภคอย่างรุนแรง จนเกิดเหตุการณ์ทีประชาชนออกมาต่อต้านจนจลาจลอยู่ในขณะนี

นอกจากกรีซแล้ว ประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปทีมีหนีสาธารณะและการขาดดุลการคลังในอัตราสูงจึงถูกจับตามองว่าอาจจะประสบภัยพิบัติตามกรีซจนล้มต่อๆกันไปตามทฤษฎีโดมิโน เช่น ไอร์แลนด์ อิตาลี โปรตุเกส และสเปน โดยเฉพาะสองประเทศหลังของคาบสมุทรไอบีเรียนันถือว่าอยู่ในภาวะทีมีความเสียงสูง จนประเทศผู้นำทางเศรษฐกิจของโลกอย่างเยอรมนี และฝรังเศส รวมทังสหรัฐอเมริกาต้องรีบออกมากดดันให้สเปนและโปรตุเกส ต้องเร่งดำเนินการหามาตรการรัดเข็มขัดเพิมเติมโดยปรับลดค่าใช้จ่ายภาครัฐอย่างเป็นการด่วน

ในปี 2552 สเปนขาดดุลเงินงบประมาณอยู่ร้อยละ 11.2 ของ GDP อันเนืองมาจากการทุ่มเม็ดเงินอัดฉีดสู่ระบบเศรษฐกิจในช่วงวิกฤติเศรษฐกิจโลก ขณะเดียวกันการจัดเก็บรายได้ในช่วงดังกล่าวก็หดหายไปจำนวนมาก ส่งผลต่อเนืองมาในปี 2553 ทีคาดว่าจะยังขาดดุลการคลังสูงในอัตราร้อยละ 9.8 และร้อยละ 7.5 ของ GDP ในปี 2554 โดยมีเป้าหมายว่าจะพยายามลดการขาดดุลไปสู่ระดับทียอมรับได้ในอัตราร้อยละ 3 ของ GDP ในปี 2557

จากกระแสการกดดันทีบีบบังคับให้สเปนต้องปรับใช้มาตรการทีแรงขึนเพือลดรายจ่ายของงบประมาณ รัฐบาลจึงตัดสินใจทีจะตัดลดค่าใช้จ่ายเพิมให้ได้ในวงเงิน 15,000 ล้านยูโรภายใน 2 ปี แบ่งเป็นก้อนแรก 5,000 ล้านยูโร ในปี 2553 และอีก 10,000 ล้านยูโรในปี 2554 ซึงจะช่วยปรับลดอัตราการขาดดุลการคลังในปี 2553 ได้อีกร้อยละ 0.5 ให้เหลือร้อยละ 9.3 และในปี 2554 ลดลงอีกร้อยละ 1 ให้เหลือร้อยละ 6.5 ของ GDP

สเปน ถือว่าเป็นประเทศในกลุ่มของประเทศพัฒนาแล้วทีเพิงจะคืบคลานออกจากภาวะเศรษฐกิจถดถอยอย่างช้าๆในลำดับท้ายๆ โดยมีอัตราการเจริญเติบโตของไตรมาสแรกปี 2553 ทีเพิงจะข้ามพ้นมาสู่แดนบวกได้ร้อยละ 0.1 เป็นครังแรกในรอบ 7 ไตรมาสทีผ่านมา เนืองจากธุรกิจภาคอสังหาริมทรัพย์ทีถือเป็นฟันเฟืองสำคัญในการผลักดันการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วในช่วงทีผ่านมาประสบภาวะถดถอยอย่างรุนแรง รวมทังการฟุ้งเฟ้อกับเงินกู้ดอกเบียตำทีหาได้ง่าย โดยคาดว่าในปี 2553 จะยังมีอัตราการเจริญเติบโตติดลบร้อยละ -0.4 แต่ปัญหาใหญ่ขณะนีคือปัญหาด้านแรงงานทียังไม่สามารถแก้ไขให้ดีขึนได้เสมือนอาการเลือดทีไหลไม่ยอมหยุด โดยอัตราการว่างงานยังเพิมขึนอย่างต่อเนืองจนทะลุระดับร้อยละ 20 หรือคิดเป็นจำนวนทังสินประมาณ 4.6 ล้านคน ซึงถือเป็นภาระทีรัฐบาลจะต้องใช้เงินจำนวนมากเข้าไปดูแลและเยียวยา ขณะเดียวกันก็ได้ประกาศขึนอัตราภาษีมูลค่าเพิมจากร้อยละ 16 ไปเป็นร้อยละ 18 แล้วโดยจะมีผลตังแต่เดือนกรกฎาคม 2553 เป็นต้นไป นอกจากนัน ยังต้องแบกรับภาระค่าจ้างพนักงานของรัฐทีมีอยู่จำนวนมากกว่า 2 ล้านคน และต้องดูแลผู้ทีเกษียณอายุทีเพิมขึนในทุกๆปี รวมทังการดูแลค่ารักษาพยาบาลของประชาชนทีล้วนแต่ต้องใช้งบประมาณจำนวนมากทังสิน

จากสภาวะเศรษฐกิจปัจจุบันของสเปนทีมีสภาพเหมือนคนป่วยทียังไม่หายจากอาการไข้ดีนัก กลับต้องมาถูกบีบให้ต้องตัดทอนรายจ่ายลงอีกนัน จึงทำให้ความคาดหวังทีจะก้าวพ้นภาวะวิกฤติเศรษฐกิจเริมพร่ามัวอีกครัง โดยพอสรุปมาตรการใช้ยาแรงบางส่วนทีรัฐบาลตัดสินใจจะนำมาใช้ ดังนี

1. ระงับการปรับเพิมเงินบำนาญสำหรับปี 2554

2. ระงับเงินช่วยเหลือสำหรับเด็กเกิดใหม่ ตังแต่วันที 1 มกราคม 2554

3. ลดเงินเดือนระดับผู้บริหารระดับสูงของรัฐบาลลงร้อยละ 15

4. ปรับลดเงินเดือนข้าราชการลงร้อยละ 5

5. ปรับลดต้นทุนราคายา

ทันทีทีประกาศมาตรการรัดเข็มขัดครังนี ซึงส่วนมากเกียวข้องกับค่าใช้จ่ายด้านสังคมทังสิน ซึงจะมีผลกับการฟืนตัวของเศรษฐกิจในภาพรวมไม่มากก็น้อย ก็ปรากฏกระแสการต่อต้านจากผู้ทีได้รับผลกระทบจากมาตรการดังกล่าวเช่นกัน โดยในชันนี หลายภาคส่วนได้เริมประกาศนัดประท้วงโดยการนัดหยุดงานแสดงออกการไม่เห็นด้วยแล้วในวันที 2 มิถุนายน 2553

ผลกระทบกับการส่งออกของไทย

สัดส่วนมูลค่าการส่งออกของไทยไปยังสเปนและโปรตุเกส รวมกันแล้วไม่ถึงร้อยละ 1 ของการส่งออกของไทย ซึงสินค้าหลักได้แก่ เครืองปรับอากาศและชินส่วน ยานพาหนะและชินส่วน และยางพารา ทีกำลังมีแนวโน้มปรับตัวดีขึนมากจากช่วงวิกฤติเศรษฐกิจในปีทีผ่านมา ขณะเดียวกัน กุ้งสดแช่แข็ง สินค้าแฟชัน และเครืองประดับ ก็ล้วนแต่ปรับตัวได้ดีขึนทังสิน แต่ทังนี จากมาตรการรัดเข็มขัดเพิมเติมของรัฐบาล ย่อมส่งผลกระทบไปยังความเชือมันของผู้บริโภคทัวไปไม่มากก็น้อยในการจับจ่ายใช้สอย อย่างไรก็ตาม ผู้บริโภคก็มีความคุ้นเคยกับการระมัดระวังการใช้จ่ายในช่วงเศรษฐกิจถดถอยทีผ่านมาอยู่แล้วในระดับหนึง

ถึงแม้ว่าการส่งออกของไทยไปยังสเปนในปี 2552 จะลดลงถึงร้อยละ 40 แต่ในช่วงไตรมาสแรกของปี 2553 ก็สามารถขยายตัวกลับมาได้ถึงร้อยละ 40 เมือเทียบกับช่วงเดียวกันของปีทีผ่านมา หากไม่เกิดเหตุการณ์วิกฤติทางเศรษฐกิจของโลกอืนๆอย่างเฉียบพลันเข้ามาแทรกแซงแล้ว ในปี 2553 สินค้าไทยคาดว่าจะมีมูลค่าการส่งออกเพิมขึนไม่ตำกว่าร้อยละ 25

ที่มา: http://www.depthai.go.th


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ