- ผู้ติดเชื้อในประเทศจากระบบเฝ้าระวังและระบบบริการ 6,706 ราย
- จากการค้นหาผู้ติดเชื้อเชิงรุกในชุมชน 433 ราย และจากเรือนจำ/ที่ต้องขัง 39 ราย
- ผู้ที่เดินทางมาจากต่างประเทศและเข้าสถานที่กักกันที่รัฐจัดให้ 348 ราย มาจากสหราชอาณาจักร 40 ราย สหรัฐอเมริกา 35 ราย เยอรมนี 34 ราย รัสเซีย 32 ราย ฝรั่งเศส 20 ราย ไม่ระบุประเทศ 20 ราย อิสราเอล 16 ราย สวิตเซอร์แลนด์ 12 ราย เนเธอร์แลนด์ 11 ราย ฟินแลนด์ 10 ราย สวีเดน สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ประเทศละ 9 ราย ออสเตรเลีย ออสเตรีย เม็กซิโก ประเทศละ 7 ราย คาซัคสถาน 6 ราย สิงค์โปร์ มาเลเซีย อินเดีย ตุรกี โปแลนด์ ประเทศละ 5 ราย แคนาดา กาตาร์ ประเทศละ 4 ราย บาเรน สเปน อิหร่าน นอร์เวย์ เดนมาร์ก ประเทศละ 3 ราย อาเซอร์ไบจาน ยูเครน แอลเบเนีย โอมาน ประเทศละ 2 ราย กาตาร์ ไอซ์แลนด์ นิวซีแลนด์ เวียดนาม อิรัก ไอร์แลนด์ เมียนมา จีน ญี่ปุ่น อิตาลี ฮังการี สิงคโปร์ อุซเบกิสถาน สโลวาเกีย บรูไน เกาหลีใต้ และคูเวต ประเทศละ 1 ราย
ส่วนผู้ติดเชื้อเข้าข่ายด้วยการตรวจ ATK 2,244 ราย
-เสียชีวิต 19 ราย เป็นเพศชาย 9 ราย เพศหญิง 10 ราย อายุเฉลี่ย 71 ปี (อายุระหว่าง 29-93 ปี) แยกเป็นอายุ 60 ปีขึ้นไป 13 ราย คิดเป็น 68% อายุน้อยกว่า 60 ปี มีโรคเรื้อรัง 6 ราย คิดเป็น 32%
สำหรับจำนวนผู้ป่วยยืนยันสะสมในประเทศตั้งแต่ต้นปี 63 จนถึงล่าสุดอยู่ที่ 2,252,776 ราย โดยมีผู้ป่วยรักษาหายแล้วเพิ่มขึ้น 2,895 ราย ยอดเสียชีวิตสะสมเพิ่มเป็น 21,799 ราย
ส่วนจังหวัดที่มีรายงานผู้ติดเชื้อรายใหม่สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ ชลบุรี 1,342 ราย, สมุทรปราการ 561 ราย, กรุงเทพมหานคร 456 ราย, อุบลราชธานี 431 ราย, ขอนแก่น 305 ราย, เชียงใหม่ 292 ราย, นนทบุรี 282 ราย, ภูเก็ต 256 ราย นครศรีธรรมราช 214 ราย และระยอง 191 ราย
ขณะที่สถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด-19 ทั่วโลก ล่าสุดวันนี้ มียอดผู้ติดเชื้อสะสมรวม 300,800,312 ราย เสียชีวิต 5,489,717 ราย โดยประเทศที่มียอดผู้ติดเชื้อสูงสุด อันดับแรก คือ ประเทศสหรัฐอเมริกา 59,564,116 ราย อันดับ 2 อินเดีย 35,223,770 ราย อันดับ 3 บราซิล 22,395,322 ราย อันดับ 4 สหราชอาณาจักร 14,015,065 ราย และอันดับ 5 ฝรั่งเศส 11,183,238 ราย ส่วนประเทศไทยมีผู้ติดเชื้อสะสมอยู่ในอันดับที่ 25