นักบริหารเงินจากธนาคารกรุงศรีอยุธยา เปิดเผยว่า เงินบาทปิดตลาดเย็นนี้ที่ระดับ 31.09 บาท/ดอลลาร์ จากตอนเช้าที่ เปิดตลาดที่ระดับ 31.21 บาท/ดอลลาร์ ระหว่างวันเคลื่อนไหวระหว่าง 31.085-31.20 บาท/ดอลลาร์
"เงินบาทแข็งค่าตามแรงซื้อแรงขาย เพราะยังไม่มีปัจจัยใหม่" นักบริหารเงินระบุ
นักบริหารเงิน ประเมินกรอบการเคลื่อนไหวของค่าเงินบาทวันพรุ่งนี้ไว้ระหว่าง 31.00-31.15 บาท/ดอลลาร์ โดยตลาดรอ ผลการประชุมคณะกรรมการการนโยบายการเงิน (กนง.), ตัวเลขการจ้างงานภาคเอกชนเดือน ก.ค.จาก ADP, จำนวนผู้ขอรับ สวัสดิการว่างงานรายสัปดาห์ และการจ้างงานนอกภาคเกษตรเดือน ก.ค.ของสหรัฐฯ
- ปัจจัยสำคัญ
- เงินเยนอยู่ที่ระดับ 105.96 เยน/ดอลลาร์ จากตอนเช้าที่อยู่ที่ระดับ 105.995 เยน/ดอลลาร์
- เงินยูโรอยู่ที่ระดับ 1.17945 ดอลลาร์/ยูโร จากตอนเช้าที่อยู่ที่ระดับ 1.17625 ดอลลาร์/ยูโร
- ดัชนี FTSE STI ตลาดหุ้นสิงคโปร์ปิดวันนี้ที่ 2,515.70 จุด เพิ่มขึ้น 30.79 จุด, +1.24% มูลค่าการซื้อขาย
- สรุปปริมาณการซื้อขายรายกลุ่ม ต่างชาติขายสุทธิ 1,848.60 ลบ.(SET+MAI)
- ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติเห็นชอบร่างสัญญาเงินกู้ในนามของรัฐบาลไทยจากธนาคารเพื่อการพัฒนาเอเชีย
- ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) อนุมัติการใช้เงินกู้เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมตามโครงเงินกู้ 1 ล้านล้านบาทเพิ่มเติม
- ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท วายแอลจี บูลเลี่ยน แอนด์ ฟิวเจอร์ส จำกัด (YLG) ตัวแทนซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า
- ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ประเมินว่า ในการประชุมคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ในวันที่ 5 ส.ค.นี้จะคงอัตรา
- ผู้อำนวยการธนาคารออมสิน เปิดให้บริการสินเชื่อ"โครงการสินเชื่อพิเศษ" ตามมติคณะรัฐมนตรี เพื่อเสริมสภาพคล่องชั่ว
- ประธานสภาผู้ส่งสินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย (สรท.) หรือสภาผู้ส่งออก เปิดเผยว่า สรท. คงคาดการณ์การส่งออก
- ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจ ธนาคารไทยพาณิชย์ (SCBEIC) ปรับประมาณการและมุมมองต่อตลาดการเงิน โดยคาดว่า
- แกนนำพรรคเดโมแครตในสภาคองเกรสและเจ้าหน้าที่ทำเนียบขาวเปิดเผยว่า ทั้งสองฝ่ายมีความคืบหน้าในการเจรจา
- รัฐมนตรีต่างประเทศญี่ปุ่นเปิดเผยในวันนี้ว่า เขาจะเดินทางไปเยือนสหราชอาณาจักรในสัปดาห์นี้ เพื่อหารือขั้นสุดท้ายเกี่ยว
- กระทรวงการคลังญี่ปุ่นได้ยกระดับการประเมินเศรษฐกิจระดับภูมิภาคของประเทศเป็นครั้งแรกในรอบเกือบ 3 ปี เนื่องจาก
เศรษฐกิจมีการส่งสัญญาณฟื้นตัวจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ซึ่งรวมถึงการบริโภคที่เพิ่มขึ้น