นักบริหารเงินจากธนาคารกรุงศรีอยุธยา เปิดเผยว่า เงินบาทเปิดตลาดเช้านี้อยู่ที่ 35.73 บาท/ดอลลาร์ ปรับตัวแข็งค่าจาก ปิดตลาดเย็นวานนี้ที่ระดับ 35.76 บาท/ดอลลาร์ เคลื่อนไหวในทิศทางเดียวกับตลาดโลก ขณะที่ดอลลาร์ทรงตัวหลังตัวเลขเงินเฟ้อของ สหรัฐฯ ออกมาเมื่อคืนนี้เป็นไปตามที่ตลาดคาดการณ์ไว้
ส่วนปัจจัยในประเทศที่มาจากมติ ครม.เมื่อวานนี้ยังไม่ส่งผลกระทบต่อค่าเงินบาทมากนัก ขณะที่มีเงินทุนต่างประเทศไหลออก ต่อเนื่อง และมีปัจจัยกดดันให้บาทอ่อนค่าจากการนำเข้าน้ำมันที่มีราคาสูงขึ้น
"บาทขยับแข็งค่าจากปิดตลาดเย็นวานนี้เล็กน้อย แต่ยังอยู่ใกล้เคียงกับระดับอ่อนค่าสุดในรอบ 9 เดือน" นักบริหารเงิน กล่าว
นักบริหารเงิน ประเมินกรอบการเคลื่อนไหวของเงินบาทในวันนี้ไว้ที่ 35.60 - 35.80 บาท/ดอลลาร์
SPOT ล่าสุด อยู่ที่ระดับ 35.70000 บาท/ดอลลาร์
- ปัจจัยสำคัญ
- เงินเยนอยู่ที่ระดับ 147.11 เยน/ดอลลาร์ จากช่วงเย็นวานนี้ที่ระดับ 147.36 เยน/ดอลลาร์
- เงินยูโรอยู่ที่ระดับ 1.0734 ดอลลาร์/ยูโร จากช่วงเย็นวานนี้ที่ระดับ 1.0730 ดอลลาร์/ยูโร
- อัตราแลกเปลี่ยนเงินบาท/ดอลลาร์ ถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักระหว่างธนาคารของธปท.อยู่ที่ระดับ 35.695 บาท/ดอลลาร์
- ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติเห็นชอบปรับแผนการคลัง ระยะปานกลาง (ปีงบประมาณ 2567-2570) ตามที่คณะ
- "ไทยบีเอ็มเอ" จับตา"หุ้นกู้ไฮยีลด์" ครบกำหนด 3 เดือนข้างหน้า เป็นพิเศษ จี้ 'แผนสำรอง-เตือนนักลงทุน' ป้องเหตุ
- "อมตะ" ชี้รัฐแจกเงินดิจิทัลกระตุ้นเศรษฐกิจได้แค่ช่วงสั้นๆ ส่วนการขึ้นค่าแรงต้องค่อยเป็นค่อยไป พิจารณาจากสถานการณ์
- ผู้อำนวยการ สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า (สนค.) กระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยว่า สนค. ได้วิเคราะห์ตลาด
- กระทรวงแรงงานสหรัฐเปิดเผยว่า ดัชนี CPI ซึ่งเป็นมาตรวัดเงินเฟ้อจากการใช้จ่ายของผู้บริโภค ปรับตัวขึ้น 3.7% ใน
- ดอลลาร์สหรัฐแข็งค่าเมื่อเทียบกับสกุลเงินหลัก ๆ ในการซื้อขายที่ตลาดปริวรรตเงินตรานิวยอร์กในวันพุธ (13 ก.ย.)
- สัญญาทองคำตลาดนิวยอร์กปิดลบในวันพุธ (13 ก.ย.) หลังสหรัฐเปิดเผยดัชนีราคาผู้บริโภค (CPI) เพิ่มขึ้นในเดือนส.
- หัวหน้านักวิเคราะห์ที่ Bankrate ระบุว่า ธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) มีแนวโน้มที่จะคงอัตราดอกเบี้ยในการประชุม
- นักลงทุนจับตาข้อมูลเศรษฐกิจของสหรัฐในสัปดาห์นี้ โดยในวันนี้จะมีการเปิดเผยจำนวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานราย