บรรพ 1
หลักทั่วไป
ลักษณะ 6
อายุความ
หมวด 1
บทเบ็ดเสร็จทั่วไป
มาตรา 193/9 สิทธิเรียกร้องใด ๆ ถ้ามิได้ใช้บังคับภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด สิทธิเรียกร้องนั้นเป็นอันขาดอายุความ
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2535 ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ฉบับที่ปัจจุบัน*
มาตรา 193/10 สิทธิเรียกร้องที่ขาดอายุความ ลูกหนี้มีสิทธิที่จะปฏิเสธการชำระหนี้ตามสิทธิเรียกร้องนั้นได้
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2535 ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ฉบับที่ปัจจุบัน*
มาตรา 193/11 อายุความที่กฎหมายกำหนดไว้นั้น คู่กรณีจะตกลงกันให้งดใช้หรือขยายออกหรือย่นเข้าไม่ได้
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2535 ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ฉบับที่ปัจจุบัน*
มาตรา 193/12 อายุความให้เริ่มนับแต่ขณะที่อาจบังคับสิทธิเรียกร้องได้เป็นต้นไป ถ้าเป็นสิทธิเรียกร้องให้งดเว้นกระทำการอย่างใดให้เริ่มนับแต่เวลาแรกที่ฝ่าฝืนกระทำการนั้น
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2535 ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ฉบับที่ปัจจุบัน*
มาตรา 193/13 สิทธิเรียกร้องที่เจ้าหนี้ยังไม่อาจบังคับได้จนกว่าจะได้ทวงถามให้ลูกหนี้ชำระหนี้ก่อน ให้เริ่มนับอายุความตั้งแต่เวลาแรกที่อาจทวงถามได้เป็นต้นไป แต่ถ้าลูกหนี้ยังไม่ต้องชำระหนี้จนกว่าระยะเวลาหนึ่งจะได้ล่วงพ้นไปแล้ว นับแต่เวลาที่ได้ทวงถามนั้น ให้เริ่มนับอายุความตั้งแต่ระยะเวลานั้นสิ้นสุดไปแล้ว
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2535 ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ฉบับที่ปัจจุบัน*
มาตรา 193/14 อายุความย่อมสะดุดหยุดลงในกรณีดังต่อไปนี้
(1) ลูกหนี้รับสภาพหนี้ต่อเจ้าหนี้ตามสิทธิเรียกร้องโดยทำเป็นหนังสือรับสภาพหนี้ให้ชำระหนี้ให้บางส่วน ชำระดอกเบี้ย ให้ประกัน หรือกระทำการใดๆ อันปราศจากข้อสงสัยแสดงให้เห็นเป็นปริยายว่ายอมรับสภาพหนี้ตามสิทธิเรียกร้อง
(2) เจ้าหนี้ได้ฟ้องคดีเพื่อตั้งหลักฐานสิทธิเรียกร้องหรือเพื่อให้ชำระหนี้
(3) เจ้าหนี้ได้ยื่นคำขอรับชำระหนี้ในคดีล้มละลาย
(4) เจ้าหนี้ได้มอบข้อพิพาทให้อนุญาโตตุลาการพิจารณา
(5) เจ้าหนี้ได้กระทำการอื่นใดอันมีผลเป็นอย่างเดียวกันกับการฟ้องคดี
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2535 ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ฉบับที่ปัจจุบัน*
มาตรา 193/15 เมื่ออายุความสะดุดหยุดลงแล้ว ระยะเวลาที่ล่วงไปก่อนนั้นไม่นับเข้าในอายุความ
เมื่อเหตุที่ทำให้อายุความสะดุดหยุดลงสิ้นสุดเวลาใด ให้เริ่มนับอายุความใหม่ตั้งแต่เวลานั้น
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2535 ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ฉบับที่ปัจจุบัน*
มาตรา 193/16 หนี้ใดซึ่งตามมูลแห่งหนี้นั้น เจ้าหนี้จะได้รับชำระหนี้เป็นคราว ๆ เจ้าหนี้มีสิทธิเรียกให้ลูกหนี้ทำหนังสือรับสภาพหนี้ให้ในเวลาใด เวลาหนึ่งก่อนอายุความครบบริบูรณ์เพื่อเป็นหลักฐานว่าอายุความสะดุดหยุดลง
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2535 ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ฉบับที่ปัจจุบัน*
มาตรา 193/17 ในกรณีที่อายุความสะดุดหยุดลงเพราะเหตุตามมาตรา 193/14 (2) หากคดีนั้นได้มีคำพิพากษาถึงที่สุดให้ยกคำฟ้อง หรือคดีเสร็จไปโดยการจำหน่ายคดีเพราะเหตุถอนฟ้องหรือทิ้งฟ้อง ให้ถือว่าอายุความไม่เคยสะดุดหยุดลง
ในกรณีที่คดีนั้นศาลไม่รับ หรือคืนหรือให้ยกคำฟ้องเพราะเหตุคดีไม่อยู่ใน อำนาจศาลหรือศาลให้ยกคำฟ้องโดยไม่ตัดสิทธิโจทก์ที่จะฟ้องใหม่และปรากฏ ว่าอายุความครบกำหนดไปแล้วในระหว่างการพิจารณาหรือจะครบกำหนดภาย ในหกสิบวันนับแต่วันที่คำพิพากษาหรือคำสั่งนั้นถึงที่สุด ให้เจ้าหนี้มีสิทธิฟ้องคดีเพื่อตั้งหลักฐานสิทธิเรียกร้อง หรือเพื่อให้ชำระหนี้ภายในหกสิบวัน นับแต่วันที่คำพิพากษาหรือคำสั่งนั้นถึงที่สุด
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2535 ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ฉบับที่ปัจจุบัน*
มาตรา 193/18 ให้นำมาตรา 193/17 มาใช้บังคับแก่กรณีที่อายุความสะดุดหยุดลงเพราะเหตุตามมาตรา 193/14 (3)(4)และ (5) โดยอนุโลม
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2535 ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ฉบับที่ปัจจุบัน*
มาตรา 193/19 ในขณะที่อายุความจะครบกำหนดนั้น ถ้ามีเหตุสุดวิสัยมาขัดขวางมิให้เจ้าหนี้กระทำการตามมาตรา 193/14 ให้อายุความนั้นยังไม่ครบกำหนดจนกว่าจะพ้นสามสิบวันนับแต่วันที่เหตุสุดวิสัยนั้นได้สิ้นสุดลง
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2535 ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ฉบับที่ปัจจุบัน*
มาตรา 193/20 อายุความสิทธิเรียกร้องของผู้เยาว์หรือของบุคคลวิกลจริตอันศาลจะสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถหรือไม่ก็ตาม ถ้าจะครบกำหนด ลงในขณะที่บุคคลดังกล่าวยังไม่ลุถึงความสามารถเต็มภูมิหรือในระหว่างหนึ่งปี นับแต่วันที่บุคคลดังกล่าวไม่มีผู้แทนโดยชอบธรรมหรือผู้อนุบาล อายุความนั้นยังไม่ครบกำหนดจนกว่าจะครบหนึ่งปีนับแต่วันที่บุคคลนั้นได้ลุถึงความสามารถเต็มภูมิหรือได้มีผู้แทนโดยชอบธรรมหรือผู้อนุบาล แล้วแต่กรณี แต่ถ้าอายุความสิทธิเรียกร้องนั้นมีระยะเวลาน้อยกว่าหนึ่งปี ก็ให้นำกำหนดระยะเวลาที่สั้นกว่านั้นมาใช้แทนกำหนดระยะเวลาหนึ่งปีดังกล่าว
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2535 ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ฉบับที่ปัจจุบัน*
มาตรา 193/21 อายุความสิทธิเรียกร้องของผู้เยาว์หรือของคนไร้ ความสามารถหรือของคนเสมือนไร้ความสามารถ ที่จะฟ้องร้องผู้แทนโดย ชอบธรรมหรือผู้อนุบาลหรือผู้พิทักษ์ของตนนั้น ถ้าจะครบกำหนดลงในขณะที่บุคคลดังกล่าวยังไม่ลุถึงความสามารถเต็มภูมิ หรือในระหว่างหนึ่งปีนับแต่วันที่ บุคคลดังกล่าวไม่มีผู้แทนโดยชอบธรรม หรือผู้อนุบาล หรือผู้พิทักษ์ อายุความนั้นยังไม่ครบกำหนดจนกว่าจะครบหนึ่งปี นับแต่วันที่บุคคลนั้นได้ลุถึงความ สามารถเต็มภูมิหรือได้มีผู้แทนโดยชอบธรรมหรือผู้อนุบาลหรือผู้พิทักษ์ แล้วแต่กรณี แต่ถ้าอายุความสิทธิเรียกร้องนั้นมีระยะเวลาน้อยกว่าหนึ่งปี ก็ให้นำ กำหนดระยะเวลาที่สั้นกว่านั้นมาใช้แทนกำหนดระยะเวลาหนึ่งปีดังกล่าว
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2535 ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ฉบับที่ปัจจุบัน*
มาตรา 193/22 อายุความสิทธิเรียกร้องระหว่างสามีภริยา ถ้าจะครบกำหนดก่อน หรือภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่การสมรสสิ้นสุดลงอายุความนั้นยังไม่ครบกำหนดจนกว่าจะครบหนึ่งปีนับแต่วันที่การสมรสสิ้นสุดลง
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2535 ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ฉบับที่ปัจจุบัน*
มาตรา 193/23 อายุความสิทธิเรียกร้องอันเป็นคุณหรือเป็นโทษแก่ผู้ตาย ถ้าจะครบกำหนดภายในหนึ่งปีนับแต่วันตาย อายุความนั้นยังไม่ครบ กำหนดจนกว่าจะครบหนึ่งปีนับแต่วันตาย
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2535 ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ฉบับที่ปัจจุบัน*
มาตรา 193/24 เมื่ออายุความครบกำหนดแล้ว ลูกหนี้จะสละประโยชน์แห่งอายุความนั้นเสียก็ได้ แต่การสละประโยชน์เช่นว่านี้ไม่มีผลกระทบ กระเทือนสิทธิของบุคคลภายนอกหรือผู้ค้ำประกัน
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2535 ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ฉบับที่ปัจจุบัน*
มาตรา 193/25 เมื่ออายุความครบกำหนดแล้ว ให้มีผลย้อนหลังขึ้นไปถึงวันที่เริ่มนับอายุความ
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ.2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2535 ดังนั้นเวลาดูคำพิพากษาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2500-2535 ให้ใช้กฎหมายแพ่งฯ ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนคำพิพากษาศาลฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งฯฉบับแก้ไขใหม่ปี พ.ศ. 2535*
มาตรา 193/26 เมื่อสิทธิเรียกร้องส่วนที่เป็นประธานขาดอายุความ ให้สิทธิเรียกร้องส่วนที่เป็นอุปกรณ์นั้นขาดอายุความด้วย แม้ว่าอายุความของ สิทธิเรียกร้องส่วนที่เป็นอุปกรณ์นั้นจะยังไม่ครบกำหนดก็ตาม
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ.2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2535 ดังนั้นเวลาดูคำพิพากษาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2500-2535 ให้ใช้กฎหมายแพ่งฯ ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนคำพิพากษาศาลฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งฯฉบับแก้ไขใหม่ปี พ.ศ. 2535*
มาตรา 193/27 ผู้รับจำนอง ผู้รับจำนำ ผู้ทรงสิทธิยึดหน่วง หรือผู้ทรงบุริมะสิทธิเหนือทรัพย์สินของลูกหนี้ อันตนได้ยึดถือไว้ยังคงมีสิทธิบังคับชำระหนี้ จากทรัพย์สินที่จำนอง จำนำ หรือที่ได้ยึดถือไว้ แม้ว่าสิทธิเรียกร้องส่วนที่เป็น ประธานจะขาดอายุความแล้วก็ตาม แต่จะใช้สิทธินั้นบังคับให้ชำระดอกเบี้ยที่ค้างย้อนหลังเกินห้าปีขึ้นไปไม่ได้
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ.2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2535 ดังนั้นเวลาดูคำพิพากษาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2500-2535 ให้ใช้กฎหมายแพ่งฯ ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนคำพิพากษาศาลฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งฯฉบับแก้ไขใหม่ปี พ.ศ. 2535*
มาตรา 193/28 การชำระหนี้ตามสิทธิเรียกร้องซึ่งขาดอายุความแล้วนั้น ไม่ว่ามากน้อยเพียงใดจะเรียกคืนไม่ได้ แม้ว่าผู้ชำระหนี้จะไม่รู้ว่าสิทธิ เรียกร้องขาดอายุความแล้วก็ตาม
บทบัญญัติในวรรคหนึ่ง ให้ใช้บังคับแก่การที่ลูกหนี้รับสภาพความรับผิดโดยมีหลักฐานเป็นหนังสือหรือโดยการให้ประกันด้วย แต่จะอ้างความข้อนี้ขึ้นเป็น โทษแก่ผู้ค้ำประกันเดิมไม่ได้
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตรา โดยมี พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ.2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2535 ดังนั้นเวลาดูคำพิพากษาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2500-2535 ให้ใช้กฎหมายแพ่งฯ ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนคำพิพากษาศาลฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งฯฉบับแก้ไขใหม่ปี พ.ศ. 2535*
มาตรา 193/29 เมื่อไม่ได้ยกอายุความขึ้นเป็นข้อต่อสู้ศาลจะอ้างเอาอายุความมาเป็นเหตุยกฟ้องไม่ได้
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ.2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2535 ดังนั้นเวลาดูคำพิพากษาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2500-2535 ให้ใช้กฎหมายแพ่งฯ ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนคำพิพากษาศาลฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งฯฉบับแก้ไขใหม่ปี พ.ศ. 2535*
--ราชกิจจานุเบกษา--
หลักทั่วไป
ลักษณะ 6
อายุความ
หมวด 1
บทเบ็ดเสร็จทั่วไป
มาตรา 193/9 สิทธิเรียกร้องใด ๆ ถ้ามิได้ใช้บังคับภายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด สิทธิเรียกร้องนั้นเป็นอันขาดอายุความ
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2535 ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ฉบับที่ปัจจุบัน*
มาตรา 193/10 สิทธิเรียกร้องที่ขาดอายุความ ลูกหนี้มีสิทธิที่จะปฏิเสธการชำระหนี้ตามสิทธิเรียกร้องนั้นได้
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2535 ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ฉบับที่ปัจจุบัน*
มาตรา 193/11 อายุความที่กฎหมายกำหนดไว้นั้น คู่กรณีจะตกลงกันให้งดใช้หรือขยายออกหรือย่นเข้าไม่ได้
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2535 ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ฉบับที่ปัจจุบัน*
มาตรา 193/12 อายุความให้เริ่มนับแต่ขณะที่อาจบังคับสิทธิเรียกร้องได้เป็นต้นไป ถ้าเป็นสิทธิเรียกร้องให้งดเว้นกระทำการอย่างใดให้เริ่มนับแต่เวลาแรกที่ฝ่าฝืนกระทำการนั้น
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2535 ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ฉบับที่ปัจจุบัน*
มาตรา 193/13 สิทธิเรียกร้องที่เจ้าหนี้ยังไม่อาจบังคับได้จนกว่าจะได้ทวงถามให้ลูกหนี้ชำระหนี้ก่อน ให้เริ่มนับอายุความตั้งแต่เวลาแรกที่อาจทวงถามได้เป็นต้นไป แต่ถ้าลูกหนี้ยังไม่ต้องชำระหนี้จนกว่าระยะเวลาหนึ่งจะได้ล่วงพ้นไปแล้ว นับแต่เวลาที่ได้ทวงถามนั้น ให้เริ่มนับอายุความตั้งแต่ระยะเวลานั้นสิ้นสุดไปแล้ว
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2535 ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ฉบับที่ปัจจุบัน*
มาตรา 193/14 อายุความย่อมสะดุดหยุดลงในกรณีดังต่อไปนี้
(1) ลูกหนี้รับสภาพหนี้ต่อเจ้าหนี้ตามสิทธิเรียกร้องโดยทำเป็นหนังสือรับสภาพหนี้ให้ชำระหนี้ให้บางส่วน ชำระดอกเบี้ย ให้ประกัน หรือกระทำการใดๆ อันปราศจากข้อสงสัยแสดงให้เห็นเป็นปริยายว่ายอมรับสภาพหนี้ตามสิทธิเรียกร้อง
(2) เจ้าหนี้ได้ฟ้องคดีเพื่อตั้งหลักฐานสิทธิเรียกร้องหรือเพื่อให้ชำระหนี้
(3) เจ้าหนี้ได้ยื่นคำขอรับชำระหนี้ในคดีล้มละลาย
(4) เจ้าหนี้ได้มอบข้อพิพาทให้อนุญาโตตุลาการพิจารณา
(5) เจ้าหนี้ได้กระทำการอื่นใดอันมีผลเป็นอย่างเดียวกันกับการฟ้องคดี
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2535 ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ฉบับที่ปัจจุบัน*
มาตรา 193/15 เมื่ออายุความสะดุดหยุดลงแล้ว ระยะเวลาที่ล่วงไปก่อนนั้นไม่นับเข้าในอายุความ
เมื่อเหตุที่ทำให้อายุความสะดุดหยุดลงสิ้นสุดเวลาใด ให้เริ่มนับอายุความใหม่ตั้งแต่เวลานั้น
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2535 ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ฉบับที่ปัจจุบัน*
มาตรา 193/16 หนี้ใดซึ่งตามมูลแห่งหนี้นั้น เจ้าหนี้จะได้รับชำระหนี้เป็นคราว ๆ เจ้าหนี้มีสิทธิเรียกให้ลูกหนี้ทำหนังสือรับสภาพหนี้ให้ในเวลาใด เวลาหนึ่งก่อนอายุความครบบริบูรณ์เพื่อเป็นหลักฐานว่าอายุความสะดุดหยุดลง
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2535 ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ฉบับที่ปัจจุบัน*
มาตรา 193/17 ในกรณีที่อายุความสะดุดหยุดลงเพราะเหตุตามมาตรา 193/14 (2) หากคดีนั้นได้มีคำพิพากษาถึงที่สุดให้ยกคำฟ้อง หรือคดีเสร็จไปโดยการจำหน่ายคดีเพราะเหตุถอนฟ้องหรือทิ้งฟ้อง ให้ถือว่าอายุความไม่เคยสะดุดหยุดลง
ในกรณีที่คดีนั้นศาลไม่รับ หรือคืนหรือให้ยกคำฟ้องเพราะเหตุคดีไม่อยู่ใน อำนาจศาลหรือศาลให้ยกคำฟ้องโดยไม่ตัดสิทธิโจทก์ที่จะฟ้องใหม่และปรากฏ ว่าอายุความครบกำหนดไปแล้วในระหว่างการพิจารณาหรือจะครบกำหนดภาย ในหกสิบวันนับแต่วันที่คำพิพากษาหรือคำสั่งนั้นถึงที่สุด ให้เจ้าหนี้มีสิทธิฟ้องคดีเพื่อตั้งหลักฐานสิทธิเรียกร้อง หรือเพื่อให้ชำระหนี้ภายในหกสิบวัน นับแต่วันที่คำพิพากษาหรือคำสั่งนั้นถึงที่สุด
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2535 ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ฉบับที่ปัจจุบัน*
มาตรา 193/18 ให้นำมาตรา 193/17 มาใช้บังคับแก่กรณีที่อายุความสะดุดหยุดลงเพราะเหตุตามมาตรา 193/14 (3)(4)และ (5) โดยอนุโลม
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2535 ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ฉบับที่ปัจจุบัน*
มาตรา 193/19 ในขณะที่อายุความจะครบกำหนดนั้น ถ้ามีเหตุสุดวิสัยมาขัดขวางมิให้เจ้าหนี้กระทำการตามมาตรา 193/14 ให้อายุความนั้นยังไม่ครบกำหนดจนกว่าจะพ้นสามสิบวันนับแต่วันที่เหตุสุดวิสัยนั้นได้สิ้นสุดลง
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2535 ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ฉบับที่ปัจจุบัน*
มาตรา 193/20 อายุความสิทธิเรียกร้องของผู้เยาว์หรือของบุคคลวิกลจริตอันศาลจะสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถหรือไม่ก็ตาม ถ้าจะครบกำหนด ลงในขณะที่บุคคลดังกล่าวยังไม่ลุถึงความสามารถเต็มภูมิหรือในระหว่างหนึ่งปี นับแต่วันที่บุคคลดังกล่าวไม่มีผู้แทนโดยชอบธรรมหรือผู้อนุบาล อายุความนั้นยังไม่ครบกำหนดจนกว่าจะครบหนึ่งปีนับแต่วันที่บุคคลนั้นได้ลุถึงความสามารถเต็มภูมิหรือได้มีผู้แทนโดยชอบธรรมหรือผู้อนุบาล แล้วแต่กรณี แต่ถ้าอายุความสิทธิเรียกร้องนั้นมีระยะเวลาน้อยกว่าหนึ่งปี ก็ให้นำกำหนดระยะเวลาที่สั้นกว่านั้นมาใช้แทนกำหนดระยะเวลาหนึ่งปีดังกล่าว
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2535 ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ฉบับที่ปัจจุบัน*
มาตรา 193/21 อายุความสิทธิเรียกร้องของผู้เยาว์หรือของคนไร้ ความสามารถหรือของคนเสมือนไร้ความสามารถ ที่จะฟ้องร้องผู้แทนโดย ชอบธรรมหรือผู้อนุบาลหรือผู้พิทักษ์ของตนนั้น ถ้าจะครบกำหนดลงในขณะที่บุคคลดังกล่าวยังไม่ลุถึงความสามารถเต็มภูมิ หรือในระหว่างหนึ่งปีนับแต่วันที่ บุคคลดังกล่าวไม่มีผู้แทนโดยชอบธรรม หรือผู้อนุบาล หรือผู้พิทักษ์ อายุความนั้นยังไม่ครบกำหนดจนกว่าจะครบหนึ่งปี นับแต่วันที่บุคคลนั้นได้ลุถึงความ สามารถเต็มภูมิหรือได้มีผู้แทนโดยชอบธรรมหรือผู้อนุบาลหรือผู้พิทักษ์ แล้วแต่กรณี แต่ถ้าอายุความสิทธิเรียกร้องนั้นมีระยะเวลาน้อยกว่าหนึ่งปี ก็ให้นำ กำหนดระยะเวลาที่สั้นกว่านั้นมาใช้แทนกำหนดระยะเวลาหนึ่งปีดังกล่าว
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2535 ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ฉบับที่ปัจจุบัน*
มาตรา 193/22 อายุความสิทธิเรียกร้องระหว่างสามีภริยา ถ้าจะครบกำหนดก่อน หรือภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่การสมรสสิ้นสุดลงอายุความนั้นยังไม่ครบกำหนดจนกว่าจะครบหนึ่งปีนับแต่วันที่การสมรสสิ้นสุดลง
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2535 ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ฉบับที่ปัจจุบัน*
มาตรา 193/23 อายุความสิทธิเรียกร้องอันเป็นคุณหรือเป็นโทษแก่ผู้ตาย ถ้าจะครบกำหนดภายในหนึ่งปีนับแต่วันตาย อายุความนั้นยังไม่ครบ กำหนดจนกว่าจะครบหนึ่งปีนับแต่วันตาย
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2535 ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ฉบับที่ปัจจุบัน*
มาตรา 193/24 เมื่ออายุความครบกำหนดแล้ว ลูกหนี้จะสละประโยชน์แห่งอายุความนั้นเสียก็ได้ แต่การสละประโยชน์เช่นว่านี้ไม่มีผลกระทบ กระเทือนสิทธิของบุคคลภายนอกหรือผู้ค้ำประกัน
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2535 ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ฉบับที่ปัจจุบัน*
มาตรา 193/25 เมื่ออายุความครบกำหนดแล้ว ให้มีผลย้อนหลังขึ้นไปถึงวันที่เริ่มนับอายุความ
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ.2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2535 ดังนั้นเวลาดูคำพิพากษาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2500-2535 ให้ใช้กฎหมายแพ่งฯ ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนคำพิพากษาศาลฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งฯฉบับแก้ไขใหม่ปี พ.ศ. 2535*
มาตรา 193/26 เมื่อสิทธิเรียกร้องส่วนที่เป็นประธานขาดอายุความ ให้สิทธิเรียกร้องส่วนที่เป็นอุปกรณ์นั้นขาดอายุความด้วย แม้ว่าอายุความของ สิทธิเรียกร้องส่วนที่เป็นอุปกรณ์นั้นจะยังไม่ครบกำหนดก็ตาม
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ.2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2535 ดังนั้นเวลาดูคำพิพากษาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2500-2535 ให้ใช้กฎหมายแพ่งฯ ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนคำพิพากษาศาลฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งฯฉบับแก้ไขใหม่ปี พ.ศ. 2535*
มาตรา 193/27 ผู้รับจำนอง ผู้รับจำนำ ผู้ทรงสิทธิยึดหน่วง หรือผู้ทรงบุริมะสิทธิเหนือทรัพย์สินของลูกหนี้ อันตนได้ยึดถือไว้ยังคงมีสิทธิบังคับชำระหนี้ จากทรัพย์สินที่จำนอง จำนำ หรือที่ได้ยึดถือไว้ แม้ว่าสิทธิเรียกร้องส่วนที่เป็น ประธานจะขาดอายุความแล้วก็ตาม แต่จะใช้สิทธินั้นบังคับให้ชำระดอกเบี้ยที่ค้างย้อนหลังเกินห้าปีขึ้นไปไม่ได้
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ.2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2535 ดังนั้นเวลาดูคำพิพากษาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2500-2535 ให้ใช้กฎหมายแพ่งฯ ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนคำพิพากษาศาลฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งฯฉบับแก้ไขใหม่ปี พ.ศ. 2535*
มาตรา 193/28 การชำระหนี้ตามสิทธิเรียกร้องซึ่งขาดอายุความแล้วนั้น ไม่ว่ามากน้อยเพียงใดจะเรียกคืนไม่ได้ แม้ว่าผู้ชำระหนี้จะไม่รู้ว่าสิทธิ เรียกร้องขาดอายุความแล้วก็ตาม
บทบัญญัติในวรรคหนึ่ง ให้ใช้บังคับแก่การที่ลูกหนี้รับสภาพความรับผิดโดยมีหลักฐานเป็นหนังสือหรือโดยการให้ประกันด้วย แต่จะอ้างความข้อนี้ขึ้นเป็น โทษแก่ผู้ค้ำประกันเดิมไม่ได้
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตรา โดยมี พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ.2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2535 ดังนั้นเวลาดูคำพิพากษาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2500-2535 ให้ใช้กฎหมายแพ่งฯ ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนคำพิพากษาศาลฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งฯฉบับแก้ไขใหม่ปี พ.ศ. 2535*
มาตรา 193/29 เมื่อไม่ได้ยกอายุความขึ้นเป็นข้อต่อสู้ศาลจะอ้างเอาอายุความมาเป็นเหตุยกฟ้องไม่ได้
*หมายเหตุ กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในบรรพ 1 ได้มีการแก้ไขใหม่เพิ่มเติมบางมาตราโดยมี พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ 11) พ.ศ.2535 ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2535 ดังนั้นเวลาดูคำพิพากษาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2500-2535 ให้ใช้กฎหมายแพ่งฯ ฉบับก่อนแก้ไขปี พ.ศ. 2535 ส่วนคำพิพากษาศาลฎีกาปี พ.ศ.2536-2538 ให้ใช้กฎหมายแพ่งฯฉบับแก้ไขใหม่ปี พ.ศ. 2535*
--ราชกิจจานุเบกษา--