พระราชกฤษฎีกา
ให้ใช้พระราชบัญญัติควบคุมอาหาร พ.ศ. 2522
บังคับในท้องที่บางแห่งในตำบลหนองบัว ตำบลหนองขุ่น ตำบลมะขามเฒ่า
อำเภอวัดสิงห์ และตำบลธรรมามูล ตำบลหาดท่าเสา อำเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท
พ.ศ. 2543
--------------------
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ให้ไว้ ณ วันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2543
เป็นปีที่ 55 ในรัชการปัจจุบัน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบามราชโองการโปรกเกล้าฯ ให้ประกาศว่า
โดยที่เป็นการสมควรให้ใช้พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 บังคับในท้องที่บางแห่งในตำบลหนองบัว ตำบลหนองขุ่น
ตำบลมะขามเฒ่า อำเภอวันสิงห์ จังหวัดชัยนาท
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 221 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และมาตรา 2 แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร
พ.ศ. 2522 อันเป็นพระราชบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิแลเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 35
มาตรา 48 และมาตรา 49 ของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
จึงทราบพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชกฤษฎีกาขึ้นไว้ ดังต่อไปนี้
มาตรา 1 พระราชกฤษฎีกานี้เรียกว่า "พระราชกฤษฎีกาให้ใช้พระราชบัญญัติควบคุมอาหาร พ.ศ. 2522 บังคับในท้องที่บางแห่ง
ในตำบลหนองบัว ตำบลหนองขุ่น ตำบล มะขามเฒ่า อำเภอวัดสิงห์ และตำบลธรรมามูล ตำบลหาดท่าเสา อำเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท
พ.ศ.2543"
มาตรา 2 พระราชกฤษฎีกานี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา 3 ให้ใช้พระราชบัญญัติควบคุมอาหาร พ.ศ. 2522 บังคับในท้องที่บางแห่งในตำบลหนองบัว ตำบลหนองขุ่น ตำบลมะขามเฒ่า
อำเภอวัดสิงห์ และตำบลธรรมามูล ตำบลท่าเสา อำเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท ภายในแนวแขตตามแผนที่ท้ายพระราชกฤษฎีกานี้
มาตรา 4 ให้รัฐมนตรีว่ากากรระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชกฤษฎีกานี้
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
ชวน หลีกภัย
นายกรัฐมนตรี
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เนื่องจากในท้งอที่บางแห่งในตำบลหนองบัว ตำบลหนองขุ่น ตำบลมะขามเฒ่า
อำเภอวัดสิงห์ และตำบลธรรมามูล ตำบลหาดท่าเสา อำเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท มีการขยายตัวทั้งในด้านการก่อสร้างอาคารและการผัง
เมือง สมควรให้ใช้พระราชบัญญติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 บังคับในท้องที่ดังกล่าว เพื่อประโยชน์ในด้านการควบคุมเกี่ยวกับความมั่นคงแข็งแรง
ความปลอดภัย การป้องกันอัคคีภัย การสารธารณสุข การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม การผังเมือง การสถาปัตกรรม และการอำนวยความสะดวกแก่
การจราจร จึงจำเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกานี้
ให้ใช้พระราชบัญญัติควบคุมอาหาร พ.ศ. 2522
บังคับในท้องที่บางแห่งในตำบลหนองบัว ตำบลหนองขุ่น ตำบลมะขามเฒ่า
อำเภอวัดสิงห์ และตำบลธรรมามูล ตำบลหาดท่าเสา อำเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท
พ.ศ. 2543
--------------------
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ให้ไว้ ณ วันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2543
เป็นปีที่ 55 ในรัชการปัจจุบัน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบามราชโองการโปรกเกล้าฯ ให้ประกาศว่า
โดยที่เป็นการสมควรให้ใช้พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 บังคับในท้องที่บางแห่งในตำบลหนองบัว ตำบลหนองขุ่น
ตำบลมะขามเฒ่า อำเภอวันสิงห์ จังหวัดชัยนาท
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 221 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และมาตรา 2 แห่งพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร
พ.ศ. 2522 อันเป็นพระราชบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำกัดสิทธิแลเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 35
มาตรา 48 และมาตรา 49 ของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำได้โดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
จึงทราบพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชกฤษฎีกาขึ้นไว้ ดังต่อไปนี้
มาตรา 1 พระราชกฤษฎีกานี้เรียกว่า "พระราชกฤษฎีกาให้ใช้พระราชบัญญัติควบคุมอาหาร พ.ศ. 2522 บังคับในท้องที่บางแห่ง
ในตำบลหนองบัว ตำบลหนองขุ่น ตำบล มะขามเฒ่า อำเภอวัดสิงห์ และตำบลธรรมามูล ตำบลหาดท่าเสา อำเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท
พ.ศ.2543"
มาตรา 2 พระราชกฤษฎีกานี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา 3 ให้ใช้พระราชบัญญัติควบคุมอาหาร พ.ศ. 2522 บังคับในท้องที่บางแห่งในตำบลหนองบัว ตำบลหนองขุ่น ตำบลมะขามเฒ่า
อำเภอวัดสิงห์ และตำบลธรรมามูล ตำบลท่าเสา อำเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท ภายในแนวแขตตามแผนที่ท้ายพระราชกฤษฎีกานี้
มาตรา 4 ให้รัฐมนตรีว่ากากรระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชกฤษฎีกานี้
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
ชวน หลีกภัย
นายกรัฐมนตรี
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับนี้ คือ เนื่องจากในท้งอที่บางแห่งในตำบลหนองบัว ตำบลหนองขุ่น ตำบลมะขามเฒ่า
อำเภอวัดสิงห์ และตำบลธรรมามูล ตำบลหาดท่าเสา อำเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท มีการขยายตัวทั้งในด้านการก่อสร้างอาคารและการผัง
เมือง สมควรให้ใช้พระราชบัญญติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 บังคับในท้องที่ดังกล่าว เพื่อประโยชน์ในด้านการควบคุมเกี่ยวกับความมั่นคงแข็งแรง
ความปลอดภัย การป้องกันอัคคีภัย การสารธารณสุข การรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม การผังเมือง การสถาปัตกรรม และการอำนวยความสะดวกแก่
การจราจร จึงจำเป็นต้องตราพระราชกฤษฎีกานี้