อัตราค่าธรรมเนียม
(1) ใบแทนหนังสือสำคัญแสดงการขึ้นทะเบียนประกันสังคม ฉบับละ 50 บาท
(2) ใบแทนบัตรประกันสังคม ฉบับละ 10 บาท
อัตราเงินสมทบท้ายพระราชบัญญัติ
อัตราเงินสมทบ
____________________________________________________________________________
ผู้ออกเงินสมทบ อัตราเงินสมทบเป็นร้อยละ
ของค่าจ้างของผู้ประกันตน
____________________________________________________________________________
1. เงินสมทบเพื่อการจ่ายประโยชน์ทดแทนกรณีประสบ
อันตรายหรือเจ็บป่วย ทุพพลภาพ ตาย หรือคลอดบุตร
(1) รัฐบาล 1.5
(2) นายจ้าง 1.5
(3) ผู้ประกันตน 1.5
2. เงินสมทบเพื่อการจ่ายประโยชน์ทดแทนกรณีสงเคราะห์
บุตรและชราภาพ
(1) รัฐบาล 3
(2) นายจ้าง 3
(3) ผู้ประกันตน 3
3. เงินสมทบเพื่อการจ่ายประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงาน
(1) รัฐบาล 5
(2) นายจ้าง 5
(3) ผู้ประกันตน 5
____________________________________________________________________________
เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากได้มีประกาศใช้พระราชบัญญัติ
ประกันสังคม พ.ศ. 2497 มาเป็นเวลานานแล้ว แต่ในขณะนั้นสภาพทางเศรษฐกิจและสังคมยังไม่อำนวย
ให้นำกฎหมายนั้นมาใช้บังคับ ปัจจุบันนี้การพัฒนาในด้านเศรษฐกิจและสังคมได้ก้าวหน้าไปมากสมควรสร้าง
หลักประกันให้แก่ลูกจ้าง และบุคคลอื่น โดยจัดตั้งกองทุนประกันสังคมขึ้น เพื่อให้การสงเคราะห์แก่ลูกจ้าง
และบุคคลอื่น ซึ่งประสบอันตราย เจ็บป่วย ทุพพลภาพ หรือตาย อันมิใช่เนื่องจากการทำงานรวมทั้งกรณี
คลอดบุตร กรณีสงเคราะห์บุตร กรณีชราภาพ และสำหรับกรณีว่างงานซึ่งให้หลักประกันเฉพาะลูกจ้าง
จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
--ราชกิจจานุเบกษา--
(1) ใบแทนหนังสือสำคัญแสดงการขึ้นทะเบียนประกันสังคม ฉบับละ 50 บาท
(2) ใบแทนบัตรประกันสังคม ฉบับละ 10 บาท
อัตราเงินสมทบท้ายพระราชบัญญัติ
อัตราเงินสมทบ
____________________________________________________________________________
ผู้ออกเงินสมทบ อัตราเงินสมทบเป็นร้อยละ
ของค่าจ้างของผู้ประกันตน
____________________________________________________________________________
1. เงินสมทบเพื่อการจ่ายประโยชน์ทดแทนกรณีประสบ
อันตรายหรือเจ็บป่วย ทุพพลภาพ ตาย หรือคลอดบุตร
(1) รัฐบาล 1.5
(2) นายจ้าง 1.5
(3) ผู้ประกันตน 1.5
2. เงินสมทบเพื่อการจ่ายประโยชน์ทดแทนกรณีสงเคราะห์
บุตรและชราภาพ
(1) รัฐบาล 3
(2) นายจ้าง 3
(3) ผู้ประกันตน 3
3. เงินสมทบเพื่อการจ่ายประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงาน
(1) รัฐบาล 5
(2) นายจ้าง 5
(3) ผู้ประกันตน 5
____________________________________________________________________________
เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากได้มีประกาศใช้พระราชบัญญัติ
ประกันสังคม พ.ศ. 2497 มาเป็นเวลานานแล้ว แต่ในขณะนั้นสภาพทางเศรษฐกิจและสังคมยังไม่อำนวย
ให้นำกฎหมายนั้นมาใช้บังคับ ปัจจุบันนี้การพัฒนาในด้านเศรษฐกิจและสังคมได้ก้าวหน้าไปมากสมควรสร้าง
หลักประกันให้แก่ลูกจ้าง และบุคคลอื่น โดยจัดตั้งกองทุนประกันสังคมขึ้น เพื่อให้การสงเคราะห์แก่ลูกจ้าง
และบุคคลอื่น ซึ่งประสบอันตราย เจ็บป่วย ทุพพลภาพ หรือตาย อันมิใช่เนื่องจากการทำงานรวมทั้งกรณี
คลอดบุตร กรณีสงเคราะห์บุตร กรณีชราภาพ และสำหรับกรณีว่างงานซึ่งให้หลักประกันเฉพาะลูกจ้าง
จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
--ราชกิจจานุเบกษา--