รายงานภาวะเศรษฐกิจรายวันประจำวันที่ 4 มีนาคม 2559

ข่าวเศรษฐกิจ Friday March 4, 2016 12:03 —กระทรวงการคลัง

Macro Morning Focus ประจำวันที่ 4 มีนาคม 2559

Summary:

1. ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคลดลงเป็นเดือนที่ 2 จากความกังวลจากภัยแล้ง

2. เงินเยนต่อดอลลาร์สหรัฐเริ่มปรับตัวอ่อนค่าลงในช่วง 2 วันที่ผ่านมา

3. ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคบริการ Caixin ของจีน เดือน ก.พ. 59 อยู่ที่ระดับ 51.2 จุด

1. ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคลดลงเป็นเดือนที่ 2 จากความกังวลจากภัยแล้ง

ศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย เปิดเผยว่า ดัชนีความเชื่อมั่นรองนายกรัฐมนตรีด้านเศรษฐกิจ เปิดเผยภายหลังการประชุมติดตามผลการดำเนินงานของผู้บริโภคต่อเศรษฐกิจโดยรวม เดือน ก.พ. 59 อยู่ที่ระดับ 63.5 จุด ลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 2 จากคณะอนุกรรมการกลุ่มอุตสาหกรรมอนาคต หรือ New S-Curve ว่าที่ประชุมมีมติตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนการลงทุนของกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายใหม่ 4 กลุ่มย่อยเพื่อช่วยขับเคลื่อนการลงทุนในไทย ระดับ 64.4 จุด ในเดือนก่อนหน้า โดยเป็นผลจากความกังวลเกี่ยวกับภาวะภัยแล้ง การปรับลดหลังสัญญาณการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (FDI) ในเดือนม.ค. 59 มีมูลค่ากว่า 2 หมื่นล้านบาท คาดการณ์ GDP โดยสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก โดยเฉพาะเศรษฐกิจจีน และการหดตัวของการส่งออก

สศค. วิเคราะห์ว่า ดัชนีฯ ที่ปรับลดลงสะท้อนความกังวลของผู้บริโภค ซึ่งจะเป็นปัจจัยกดดันสศค. วิเคราะห์ว่า การที่ยอดการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศมีสัญญาณปรับตัวดีขึ้น ได้รับการฟื้นตัวของการบริโภคภาคเอกชนต่อไป โดยการบริโภคภาคเอกชนในเดือน ม.ค. 59 ยังมีการสนับสนุนจากนักลงทุนจากประเทศญี่ปุ่น ยุโรป และสหรัฐ เป็นหลัก ซึ่งเน้นการลงทุนในสัญญาณการชะลอตัว สะท้อนจากภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ ที่จัดเก็บจากการใช้จ่ายกิจการผลิตยายนต์และชิ้นส่วน กิจการผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนการลงทุนจากภาครัฐ ได้แก่ สิทธิประโยชน์เร่งรัดการลงทุนในปี 59 สิทธิประโยชน์ภายในประเทศ ที่ถึงแม้จะขยายตัวร้อยละ 4.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน แต่เมื่อเทียบกับเดือนสำหรับ การลงทุนในอุตสาหกรรมอนาคตของไทย (New Growth Engine) และสิทธิประโยชน์ก่อนหน้า (ขจัดผลทางฤดูกาล) จะหดตัวร้อยละ -3.0 ตลอดจนการบริโภคภาคเอกชนในหมวดพิเศษสำหรับการใช้ประเทศไทยเป็นฐานการลงทุนในอาเซียน ซึ่งมาตรการดังกล่าวเป็นการสินค้าคงทนก็ยังคงแสดงสัญญาณชะลอตัว โดยเฉพาะยอดขายรถยนต์นั่งที่ยังคงหดตัวต่อเนื่องยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และส่งเสริมให้ไทยเป็นศูนย์กลางการค้าที่ร้อยละ -5.2 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน อย่างไรก็ตาม มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของการลงทุนของภูมิภาค รวมถึงเป็นการสร้างความเชื่อมั่นให้กับนักลงทุนต่างชาติให้เข้ามาลงทุนรัฐบาล โดยเฉพาะมาตรการช่วยเหลือเกษตรกรที่ประสบปัญหาภัยแล้ง ซึ่งได้ประกาศและเริ่มดำเนินการแล้วตั้งแต่ช่วงปลายเดือน ก.พ. 59 ทั้งสินเชื่อผ่อนปรนที่ให้กับเกษตรกรที่ได้รับในประเทศเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ สศค. คาดว่าการลงทุนภาคเอกชนในปี 59 จะขยายตัวร้อยละ 4.5 ต่อผลกระทบโดยตรง และสินเชื่อช่วยระยะยาวสำหรับ SME ภาคเกษตร จะช่วยบรรเทาผลกระทบต่อเกษตรกร รวมถึงเป็นการส่งเสริมให้มีการเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรและเกิดการจ้างงานในชุมชนต่อไป ทั้งนี้ สศค. คาดการณ์ ณ ม.ค. 59 ว่าการบริโภคภาคเอกชนในปีนี้จะ2. กระทรวงพาณิชย์ชี้ช่องลงทุนอุตสาหกรรมยานยนต์ในกัมพูชา ขยายตัวต่อเนื่องที่ร้อยละ 2.4

2. เงินเยนต่อดอลลาร์สหรัฐเริ่มปรับตัวอ่อนค่าลงในช่วง 2 วันที่ผ่านมา

ค่าเงินเยนเริ่มปรับตัวอ่อนค่าลงโดยในวันที่ 3 มี.ค. 59 ราคาปิดตลาดอยู่ที่ 114.140 เยนต่อดอลลาร์สหรัฐ ภายหลังจากแข็งค่ามากในช่วง 2 สัปดาห์ก่อนหน้า ทั้งนี้ ค่าเงินเยนที่อ่อนค่ามากขึ้นส่งผลให้ดัชนีตลาดหุ้นโตเกียว (Nikkei 225) ในวันเดียวกัน ปิดที่ระดับ 16,960.16 จุด โดยเป็นการปรับตัวสูงขึ้นจากวันก่อนหน้า 213.6 จุด หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.3 จากวันก่อนหน้า

สศค. วิเคราะห์ว่า ค่าเงินเยนที่ปรับตัวอ่อนค่าลงในช่วง 2 วันที่ผ่านมานี้ ส่วนหนึ่งคาดว่าเป็นใหม่หรือคนรวยที่มีฐานะดีมักนิยมซื้อรถยนต์ใหม่มากขึ้นแทนรถยนต์มือสองที่ชาวกัมพูชาเคยนิยมใช้ จึงผลจากข้อมูลทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ ที่ออกมาในระดับดี ส่งผลให้ตลาดคลายความวิตกกังวลเป็นโอกาสที่ผู้ประกอบการไทยจะเข้ามาลงทุนในธุรกิจที่เกี่ยวข้อง เช่น อุตสาหกรรมยานยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ ซึ่งมีแนวโน้มขยายตัวตามรายได้ของชาวกัมพูชารวมถึงตลาดยังมีช่องว่างในการต่อสถานการณ์เศรษฐกิจสหรัฐฯ ได้มากขึ้น และเพิ่มโอกาสที่ธนาคารกลางสหรัฐฯ อาจปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายในปีนี้ กอปรกับราคาน้ำมันตลาดโลกเริ่มมีทิศทางปรับตัวเพิ่มขึ้นโดยเติบโตอีกมาก อย่างไรก็ตาม รถยนต์ที่นำเข้าจากไทยเพื่อจำหน่ายในกัมพูชาทั้งหมดเป็นรถยนต์ที่ผลิตราคาน้ำมันในตลาดสหรัฐฯ ในวันที่ 3 มี.ค. 59 ปิดตลาดที่ 34.54 ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล ตามคำสั่งเฉพาะ เนื่องจากต้องมีพวงมาลัยด้านซ้ายตามกฎหมายของกัมพูชา ส่วนธุรกิจซ่อมบำรุงรถยนต์และรถจักรยานยนต์ ก็เป็นอีกธุรกิจที่มีแนวโน้มขยายตัวซึ่งผู้ประกอบการไทยไม่ควรมองข้ามหรือคิดเป็นการขยายตัวร้อยละ 5.9 จากสัปดาห์ก่อนหน้า ส่งผลให้มีเงินทุนเคลื่อนย้ายจากญี่ปุ่นมีแนวโน้มไหลออกไปนอกประเทศมากขึ้น ทั้งนี้ เงินเยนที่มีแนวโน้มอ่อนค่าจะเป็นปัจจัยบวกต่อภาคการส่งออกสินค้าและบริการญี่ปุ่นในรูปเงินเยน ซึ่งในช่วงที่ผ่านมามูลค่าการส่งออกญี่ปุ่นในเดือน ม.ค. 59 หดตัวถึงร้อยละ -12.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน จากการส่งออกไปจีนที่หดตัวต่อเนื่อง ขณะที่จำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เข้าญี่ปุ่นในเดือน ม.ค. 59 ขยายตัวสูงถึงร้อยละ 52.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน สะท้อนการส่งออกภาคบริการที่ยังขยายตัวได้ในระดับดี

3. ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคบริการ Caixin ของจีน เดือน ก.พ. 59 อยู่ที่ระดับ 51.2 จุด

ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคบริการ Caixin ของจีน เดือน ก.พ. 59 ปรับลดลงมาอยู่ที่ระดับ 51.2 จุด จาก 52.4 จุด ในเดือนก่อน ซึ่งแม้จะเป็นการอยู่เหนือระดับ 50.0 จุด ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 19 แต่ดัชนีฯ เริ่มส่งสัญญาณแผ่วลงกว่าค่าเฉลี่ยในอดีต

สศค. วิเคราะห์ว่า ภาคบริการเป็นภาคส่วนหลักของเศรษฐกิจจีน โดยในปี 58 มีสัดส่วนเป็นร้อยละ 50.1 ของ GDP มากกว่าภาคอุตสาหกรรมซึ่งมีสัดส่วนร้อยละ 40.5 และภาคเกษตรกรรมซึ่งมีสัดส่วนเพียงร้อยละ 9.0 โดยการบทบาททางเศรษฐกิจที่มากขึ้นของภาคบริการในช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมา เป็นผลจากการขับเคลื่อนนโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้หันมาพึ่งพาภาคบริการมากขึ้นของทางการจีน สะท้อนจากการที่ภาคบริการเริ่มมีสัดส่วนกว่าครึ่งของเศรษฐกิจจีนเป็นครั้งแรกในปี 58 สำหรับดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคบริการ Caixin เดือน ก.พ. 59 ซึ่งอยู่ที่ระดับ 51.2 จุด สอดคล้องกับดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อภาคบริการ NBS ซึ่งอยู่ที่ระดับ 52.7 จุด อยู่สูงกว่าระดับ 50.0 จุด ซึ่งเป็นระดับที่สะท้อนภาวะที่ไม่เปลี่ยนแปลงอยู่ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 19 สะท้อนภาคบริการที่ยังเป็นภาคส่วนเศรษฐกิจของจีนที่ยังแข็งแกร่งและช่วยประคับประคองเศรษฐกิจ อย่างไรก็ตาม หากพิจารณาค่าเฉลี่ยในช่วง 2 เดือนแรกของปี 59 ซึ่งอยู่ที่ 51.8 จุด จะพบว่าต่ำกว่าค่าเฉลี่ยในอดีตและมีแนวโน้มต่ำลงต่อเนื่อง โดยในปี 58 อยู่ที่ระดับ 52.0 จุด และในปี 57 อยู่ที่ระดับ 52.1 โดยดัชนีฯ ย่อยในเดือน ก.พ. 59 แสดงผลผลิต คำสั่งซื้อใหม่ รวมถึงการจ้างงานที่ปรับตัวลดลงในอัตราที่เร่งขึ้น

ที่มา: Bureau of Macroeconomic Policy,Fiscal Policy Office, Ministry of Finance

Tel: 02-273-9020 Ext. 3257


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ