รายงานภาวะเศรษฐกิจประจำวันที่ 16 ก.ค. 2564

ข่าวเศรษฐกิจ Monday July 19, 2021 14:30 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย
ExecutiveSummary

เศรษฐกิจไทยดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI) เดือน มิ.ย. 64ปรับตัวลดลงมาอยูที่ระดับ 80.7จากระดับ 82.3ในเดือนกอนปริมาณการจำหนายปูนซีเมนต์ภายในประเทศเดือน มิ.ย. 64หดตัวรอยละ -0.8เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปีกอน

ภาคการเงินระดับสินทรัพย์สภาพคลองของธนาคารพาณิชย์ในเดือน พ.ค. 64คิดเป็น 1.95เทาของสินทรัพย์สภาพคลองที่ตองดำรงตามกฎหมาย

เศรษฐกิจตางประเทศGDP จีน ไตรมาสที่ 2ปี 64ขยายตัวที่รอยละ 7.9จากชวงเดียวกันของ ปีกอนGDP สิงคโปร์ ไตรมาสที่ 2 ปี 64 (เบื้องตน) ขยายตัวที่รอยละ 14.3 จากชวงเดียวกันปีกอน เครื่องชี้เศรษฐกิจไทยดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI)เดือน มิ.ย. 64 ปรับตัวลดลงมาอยูที่ระดับ 80.7 จากระดับ 82.3 ในเดือนกอน

สวนหนึ่งเป็นผลจากสถานการณ์การแพรระบาดของโควิด-19รอบใหม ทวีความรุนแรงมากขึ้นโดยเฉพาะในโรงงานอุตสาหกรรมและแคมปคนงานกอสราง ทำใหรัฐบาลตองยกระดับมาตรการการควบคุมการแพรระบาดของโควิด-19 สงผลใหกิจกรรมทางเศรษฐกิจชะลอตัว อยางไรก็ตาม ยังมีปัจจัยสนับสนุนจากการสงออกของไทยที่มีทิศทางที่ดีขึ้น เนื่องจากเศรษฐกิจของประเทศคูคาเริ่มฟืนตัว ประกอบกับการออนคาของเงินบาทที่สงผลใหสินคาไทยถูกลงเมื่อเทียบกับคูแขง ปริมาณการจำหนายปูนซีเมนต์ภายในประเทศเดือน มิ.ย. 64 หดตัวรอยละ -0.8 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปีกอน และหากปรับผลทางฤดูกาล พบวาหดตัวรอยละ -2.0 เมื่อเทียบกับเดือนกอนหนา ผลกระทบจากการแพรระบาดของโควิด-19 ระลอกใหมยังคงเป็นปัจจัยกดดันหลักตอการกอสราง โดยเฉพาะการกอสรางของภาคเอกชน สงผลใหยอดจำหนายปูนซีเมนต์เมื่อเทียบรายเดือนลดลงติดตอกันเป็นเดือนที่ 2 ขณะที่การระบาดในแคมปกอสราง เป็น cluster กระจายไปสูชุมชนอื่นๆ สงผลใหภาครัฐตองดำเนินนโยบายควบคุมการแพรระบาดอยางเขมงวดชวงปลายเดือน มิ.ย. โดยเฉพาะอยางยิ่งในเขต กรุงเทพฯและปริมณฑล คาดวาจะสงผลใหงานกอสรางบางสวนหยุดชะงัก และนาจะกระทบตอการใชงานปูนซีเมนต์เดือน ก.ค. 64 ใหชะลอลงตอเนื่อง เครื่องชี้ภาคการเงิน ระดับสินทรัพย์สภาพคลองของธนาคารพาณิชย์ในเดือน พ.ค.64 คิดเป็น 1.95 เทาของสินทรัพย์ สภาพคลองที่ตองดำรงตามกฎหมาย

โดยยอดคงคางสินทรัพย์สภาพคลองของธนาคารพาณิชย์ทั้งระบบในเดือน พ.ค. 64 อยูที่ 5.3 ลานลานบาท เพิ่มขึ้นเล็กนอยจากเดือนกอนหนา ทั้งนี้ ธปท. ไดปรับเกณฑ์การดำรงสินทรัพย์สภาพคลองของธนาคารพาณิชย์จากเกณฑ์เดิมที่ตองดำรงสินทรัพย์สภาพคลองไมต่ำกวารอยละ 6 ของเงินรับฝากเป็นไมต่ำกวารอยละ 100 (หรือ 1.0 เทา) ของประมาณการกระแสเงินสดไหลออกสุทธิในสภาวะวิกฤต (Liquidity Coverage Ratio: LCR) ตั้งแตเดือน ม.ค. 59

เครื่องชี้เศรษฐกิจตางประเทศ
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน มิ.ย. 64 ขยายตัวที่รอยละ 9.8จากชวงเดียวกันของปีกอน ชะลอตัวลงจากเดือน พ.ค. 64ที่อยูที่รอยละ 16.1จากชวงเดียวกันของปีกอน เป็นผลจากการผลิตที่ชะลอลงในกลุมอุตสาหกรรมและสาธารณูปโภค เป็นสำคัญอัตราเงินเฟ้อ เดือน มิ.ย. 64อยูที่รอยละ 5.4จากชวงเดียวกันของปีกอนปรับตัวเพิ่มขึ้นจากเดือน     กอนหนาที่อยูที่รอยละ 5.0จากชวงเดียวกันของปีกอน เป็นผลจากราคาสินคาที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นในหมวดรถยนต์และรถบรรทุกมือสอง น้ำมันเบนซิน และคาขนสง เป็นสำคัญจำนวนผูขอรับสวัสดิการวางงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (4-10ก.ค. 64) อยูที่ 3.60แสนราย ลดลงจากสัปดาห์กอนหนาที่อยูที่ 3.86แสนราย และเป็นระดับที่ต่ำที่สุดนับตั้งแตเริ่มมีการแพรระบาดในสหรัฐฯ อยางไรก็ดี ดัชนียังคงสูงกวาคาเฉลี่ยตอสัปดาห์ในชวงกอนเกิดการแพรระบาดของไวรัสโควิด-19 ในสหรัฐ  ที่อยูที่ระดับ 2.3 แสนรายGDPไตรมาสที่ 2ปี 64ขยายตัวที่รอยละ 7.9จากชวงเดียวกันของปีกอนชะลอลงจากไตรมาสกอนหนา  ที่ขยายตัวที่รอยละ 18.3จากชวงเดียวกันของปีกอน หรือคิดเป็นการขยายตัวที่รอยละ 1.3จากไตรมาสกอนหนา (ขจัดผลทางฤดูกาลแลว) โดยเศรษฐกิจจีนที่ชะลอตัวลงเป็นผลมาจากราคาตนทุนวัตถุดิบที่เพิ่มสูงขึ้น และการระบาดของไวรัสโควิด-19 ระลอกใหมในบางภูมิภาค ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน มิ.ย. 64 ขยายตัวที่รอยละ 8.3 ลดลงจากเดือนกอนหนาที่รอยละ 8.8 จากชวงเดียวกันของปีกอน เป็นผลมาจากสินคาในหมวดเครื่องจักรเป็นสำคัญยอดคาปลีก เดือน มิ.ย. 64 ขยายตัวรอยละ 12.1 จากชวงเดียวกันของปีกอน ซึ่งชะลอตัวลงจากเดือน     กอนหนาเนื่องจากการบริโภคที่ลดลงจากการระบาดของโควิด-19ในบางภูมิภาค มูลคาการสงออกขยายตัวรอยละ 32.2 จากชวงเดียวกันของปีกอน ขยายตัวเรงขึ้นจากเดือนกอนหนาการนำเขาขยายตัวที่รอยละ 36.4 จากชวงเดียวกันของปีกอน ลดลงจากเดือนกอนหนาดุลการคา เดือน มิ.ย. 64เกินดุลอยูที่ 51.53พันลานดอลลาร์ อัตราการวางงาน เดือน มิ.ย. 64 อยูที่รอยละ 5.0 ของกำลังแรงงานรวม คงที่จากเดือนกอนหนา
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ค. 64 ขยายตัวรอยละ 21.1 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปีกอน โดยปรับตัวเรงขึ้นจากเดือนกอนหนาที่อยูที่รอยละ 15.8 ธนาคารแหงประเทศญี่ปุ่นคงอัตราดอกเบี้ยไวที่รอยละ -0.1 เนื่องจากสถานการณ์การแพรระบาดของ          โควิด-19ยังไมคลี่คลายผลผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือน พ.ค. 64 ขยายตัวที่รอยละ 20.5 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันปีกอน ชะลอลงจากเดือนกอนหนาที่ขยายตัวที่รอยละ 39.4 อัตราการวางงาน เดือน  มิ.ย. 64 ปรับตัวลดลงมาอยูที่รอยละ 4.9 ของกำลังแรงงานรวม จากรอยละ 5.1 ในเดือน พ.ค. 64ซึ่งเป็นการลดลงติดตอกันเป็นเดือนที่ 8เนื่องจากเศรษฐกิจเริ่มกลับมาฟืนตัว
เครื่องชี้เศรษฐกิจตางประเทศ

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน พ.ค. 64 ขยายตัวรอยละ 26.0 จากชวงเดียวกันปีกอน ชะลอลงจากเดือนกอนหนาที่ขยายตัวที่รอยละ 50.1 เนื่องจากสินคาอุตสาหกรรมโดยรวมที่ขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงยอดคาปลีก เดือน  พ.ค. 64 ขยายตัวรอยละ 17.3 จากชวงเดียวกันปีกอน ชะลอจากเดือนกอนหนาที่ขยายตัวที่รอยละ 56.4 เนื่องจากยอดขายในหมวดยานยนต์เป็นสำคัญอัตราเงินเฟ้อ เดือน มิ.ย. 64 อยูที่รอยละ 6.26 จากชวงเดียวกันปีกอน ลดลงเล็กนอยจากเดือนกอนหนา เนื่องจากการชะลอตัวลงของราคายาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เป็นสำคัญผลผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือน พ.ค. 64 ขยายตัวที่รอยละ 34.5 จากชวงเดียวกันปีกอน ชะลอตัวลงจากเดือนกอนหนาที่ขยายตัวที่รอยละ 197.9จากชวงเดียวกันของปีกอน มูลคาการสงออก เดือน มิ.ย. 64 ขยายตัวที่รอยละ 48.3 จากชวงเดียวกันปีกอน ลดลงจากเดือนกอนหนาที่ขยายตัวที่รอยละ 68.1 มูลคาการนำเขา เดือน มิ.ย. 64 ขยายตัวที่รอยละ 98.3 จากชวงเดียวกันปีกอน เรงขึ้นจากเดือนกอนหนาที่ขยายตัวที่รอยละ 68.7 ดุลการคาขาดดุลที่ -9.37พันลานดอลลาร์สหรัฐเศรษฐกิจไตรมาสที่ 2 ปี 64 (เบื้องตน) ขยายตัวที่รอยละ 14.3 จากชวงเดียวกันปีกอน ขยายตัวเรงขึ้นจากไตรมาสกอนหนาที่ขยายตัวที่รอยละ 1.3 จากชวงเดียวกันปีกอน หรือคิดเป็นหดตัวที่รอยละ -2.0 จาก     ไตรมาสกอนหนา (ขจัดผลทางฤดูกาลแลว)มูลคาการสงออก เดือน มิ.ย. 64 ขยายตัวที่รอยละ 22.3 จากชวงเดียวกันปีกอนชะลอลงจากเดือนกอนหนาที่ขยายตัวที่รอยละ 29.8 มูลคาการนำเขา เดือน มิ.ย. 64 ขยายตัวที่รอยละ 28.3 จากชวงเดียวกันปีกอนชะลอลงจากเดือนกอนหนาที่ขยายตัวที่รอยละ 32.2 ดุลการคาเกินดุลที่ 4.6 พันลานดอลลาร์สิงคโปร์

ยอดคาปลีก เดือน พ.ค. 64 ขยายตัวที่รอยละ 14.7 จากชวงเดียวกันปีกอน ชะลอลงจากเดือนกอนหนาที่ขยายตัวที่รอยละ 15.6 เนื่องจากสินคาในหมวดอาหารและเครื่องดื่มเป็นสำคัญมูลคาการสงออก เดือน มิ.ย. 64 ขยายตัวที่รอยละ 54.5 จากชวงเดียวกันปีกอน ชะลอลงจากเดือนกอนหนาที่ขยายตัวที่รอยละ 62.0 มูลคาการนำเขา เดือน มิ.ย. 64 ขยายตัวที่รอยละ 60.1 จากชวงเดียวกันปีกอนชะลอลงจากเดือนกอนหนาที่ขยายตัวที่รอยละ 68.7 ดุลการคาเกินดุลที่ 1.32 พันลานดอลลาร์สหรัฐอัตราการวางงานเดือน มิ.ย. 64 อยูที่รอยละ 3.70 ของกำลังแรงงานรวม ปรับตัวลดลงจากเดือนกอนหนาที่อยูที่รอยละ 3.80ของกำลังแรงงานรวมธนาคารกลางเกาหลีใตประกาศคงอัตราดอกเบี้ยเชิงนโยบายอยูที่รอยละ 0.5ตอปีอัตราเงินเฟ้อ เดือน มิ.ย. 64 ปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นมาอยูที่รอยละ 2.5 ตอปี จากรอยละ 2.1 ตอปี ในเดือน พ.ค. 64 ซึ่งเป็นอัตราเงินเฟ้อที่สูงที่สุดตั้งแตเดือน ส.ค. 61 อัตราการวางงาน เดือน พ.ค. 64 ปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นเล็กนอยมาอยูที่รอยละ 4.8 ของกำลังแรงงานรวม จากรอยละ 4.7 ของกำลังแรงงานรวม ในเดือน เม.ย. 64 เนื่องจากจำนวนชั่วโมงการทำงานยังอยูในระดับต่ำ เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน ดัชนี SET ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์กอนเล็กนอย สอดคลองกับ ตลาดหลักทรัพย์อื่น ๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลง เชน Nikkei225(ญี่ปุ่น) HSI(ฮองกง) และ PSEi(ฟิลิปปินส์) เป็นตน ในสัปดาห์นี้ดัชนี SET ปรับตัวเพิ่มขึ้นชวงตนสัปดาห์ ลดลงชวงกลางสัปดาห์ และกลับมาเพิ่มขึ้นชวงปลายสัปดาห์ เมื่อวันที่ 15ก.ค. 64 ดัชนีปิดที่ระดับ 1,572.01จุด ดวยมูลคาซื้อขายเฉลี่ยระหวางวันที่ 12-15ก.ค. 64อยูที่ 76,628.07 ลานบาทตอวัน โดยนักลงทุนตางชาติเป็นผูขายสุทธิ ขณะที่นักลงทุนทั่วไปในประเทศนักลงทุนสถาบันในประเทศและนักลงทุนบัญชีหลักทรัพย์ เป็นผูซื้อสุทธิ ทั้งนี้ ระหวางวันที่ 12-15ก.ค. 64 ตางชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ -3,564.19ลานบาทอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลโดยรวมปรับตัวลดลงในชวง -1ถึง -11bpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 6

ตามลำดับ ทั้งนี้ ระหวางวันที่ 12-15ก.ค. 64 กระแสเงินทุนของ         นักลงทุนตางชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ-17,683.52 ลานบาทและหากนับจากตนปีจนถึงวันที่ 15ก.ค. 64 กระแสเงินทุนของนักลงทุนตางชาติ ไหลเขาในตลาดพันธบัตรสุทธิ 54,320.91ลานบาทเงินบาทออนคาลงจากสัปดาห์กอน โดย ณ วันที่ 15ก.ค. 64 เงินบาทปิดที่ 32.65บาทตอดอลลาร์สหรัฐ ออนคาลงรอยละ -0.61จากสัปดาห์กอนหนา สอดคลองกับเงินสกุลอื่น ๆ อาทิ เงินสกุลยูโรริงกิต วอน และดอลลาร์สิงคโปร์ ที่ปรับตัวออนคาลงจากสัปดาห์กอนเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่เงินสกุลเยนและหยวน ปรับตัวแข็งคาขึ้นจากสัปดาห์กอนเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทออนคาลงมากกวาเงินสกุลหลักอื่น ๆ ในภูมิภาค สงผลให ดัชนีคาเงินบาท (NEER)ออนคาลงรอยละ -0.53จากสัปดาห์กอน



ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ