เศรษฐกิจไทยดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI) เดือน ก.ค. 64ปรับตัวลดลงมาอยูที่ระดับ 78.9จากระดับ 80.7ในเดือนกอนปริมาณการจำหนายปูนซีเมนต์ภายในประเทศเดือน ก.ค. 64หดตัวที่ รอยละ -12.0เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปีกอน
ภาคการเงินระดับสินทรัพย์สภาพคลองของธนาคารพาณิชย์ในเดือน มิ.ย. 64คิดเป็น 1.87เทาของสินทรัพย์สภาพคลองที่ตองดำรงตามกฎหมาย
เศรษฐกิจตางประเทศGDP สิงค์โปร์ ไตรมาสที่ 2ปี 64ขยายตัวที่รอยละ 14.7จากชวงเดียวกันปีกอนGDPมาเลเซียไตรมาสที่ 2ปี 64ขยายตัวที่รอยละ 16.1จากชวงเดียวกันปีกอนGDP ฟิลิปปินส์ ไตรมาสที่ 2ปี 64ขยายตัวที่รอยละ 11.8จากชวงเดียวกันปีกอนGDPสหราชอาณาจักร ไตรมาสที่ 2 ปี 64 ขยายตัวรอยละ 22.2 จากชวงเดียวกันปีกอน เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI)เดือน ก.ค. 64 ปรับตัวลดลงมาอยูที่ระดับ 78.9 จากระดับ 80.7 ในเดือนกอน
เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของ COVID-19ที่ยังไมคลี่คลายและกระจายวงกวางไปทั่วไปประเทศ ประกอบกับภาครัฐออกมาตรการล็อกดาวน์ในพื้นที่ 29จังหวัด สงผลใหภาคธุรกิจโดยเฉพาะ SMEsและประชาชนมีรายไดลดลง ทั้งนี้การแพรระบาดในโรงงานอุตสาหกรรมหลายแหงทำใหกำลังการผลิตลดลงและเกิดปัญหาขาดแคลนแรงงาน อยางไรก็ตาม ภาคการสงออกยังมีการขยายตัวอยางตอเนื่อง เนื่องจากเศรษฐกิจประเทศคูคามีทิศทางดีขึ้นจากสัดสวนประชากรที่ฉีดวัคซีนเพิ่มมากขึ้นทำใหอุปสงค์ในตลาดตางประเทศขยายตัว นอกจากนี้ การออนคาของเงินบาทยังเป็นปัจจัยสนับสนุนภาคการสงออกอีกดวย
ปริมาณการจำหนายปูนซีเมนต์ภายในประเทศเดือน ก.ค. 64 หดตัวรอยละ -12.0 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปีกอน และหากปรับผลทางฤดูกาล พบวาหดตัวรอยละ -10.2 เมื่อเทียบกับเดือนกอนหนา โดยในเดือน ก.ค. 64 เป็นเดือนที่เริ่มไดรับผลกระทบจากการยกระดับมาตรการควบคุมการแพรระบาดของไวรัส โควิด-19 โดยเฉพาะในพื้นที่กอสราง ในเขต กรุงเทพฯและปริมณฑล ทำใหตองชะลอการกอสรางในพื้นที่ดังกลาวเพื่อควบคุมการแพรระบาดในแคมปคนงาน และสงผลกระทบตอเนื่องไปยังยอดการใชงานปูนซีเมนต์เดือน ก.ค. 64 หดตัวเรงขึ้นเมื่อเทียบรายปีและเทียบกับเดือนกอนหนา ทั้งนี้ สถานการณ์การแพรระบาดของโควิดที่ยังคงรุนแรงในปัจจุบัน คาดวาจะยังคงสงผลกระทบตอการกอสราง โดยเฉพาะในโครงการขนาดใหญใหชะลอตัวตอเนื่อง เครื่องชี้ภาคการเงินระดับสินทรัพย์สภาพคลองของธนาคารพาณิชย์ในเดือน มิ.ย. 64 คิดเป็น 1.87 เทาของสินทรัพย์ สภาพคลองที่ตองดำรงตามกฎหมาย
โดยยอดคงคางสินทรัพย์สภาพคลองของธนาคารพาณิชย์ทั้งระบบในเดือน มิ.ย. 64 อยูที่ 5.2 ลานลานบาท ลดลงเล็กนอยจากเดือนกอนหนา ทั้งนี้ ธปท. ไดปรับเกณฑ์การดำรงสินทรัพย์สภาพคลองของธนาคารพาณิชย์จากเกณฑ์เดิมที่ตองดำรงสินทรัพย์สภาพคลองไมต่ำกวารอยละ 6 ของเงินรับฝากเป็นไมต่ำกวารอยละ 100 (หรือ 1.0 เทา) ของประมาณการกระแสเงินสดไหลออกสุทธิในสภาวะวิกฤต (LiquidityCoverageRatio:LCR)ตั้งแตเดือน ม.ค. 59 เครื่องชี้เศรษฐกิจตางประเทศ
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ก.ค. 64 ทรงตัวจากเดือนกอนหนาที่ขยายตัวที่รอยละ5.4จากชวงเดียวกันของปีกอนและเป็นระดับที่สูงที่สุดในรอบ 13 ปี สวนหนึ่งเป็นผลจากการมีฐานต่ำเมื่อ ปีกอน และจากการที่กิจกรรมทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ กลับมาเปิดดำเนินการอีกครั้งรวมถึง ปัญหาการหยุดชะงักของหวงโซอุปทาน โดยราคาสินคาปรับตัวเพิ่มขึ้นในกลุมของอาหาร รถใหม และที่พักอาศัย เป็นสำคัญจำนวนผูขอรับสวัสดิการวางงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (1-7ส.ค. 64) อยูที่ 3.75แสนรายลดลงตอเนื่องเป็นสัปดาห์ที่ 3จากสัปดาห์กอนหนาที่อยูที่ 3.87แสนราย สะทอนการทยอยฟืนตัวของตลาดแรงงานสหรัฐฯ อยางตอเนื่อง ทั้งนี้ ยังคงเป็นระดับสูงกวาคาเฉลี่ยตอสัปดาห์ในชวงกอนเกิดการแพรระบาดของไวรัสโควิด-19 ในสหรัฐฯ ที่อยูที่ระดับ 2.3 แสนรายอัตราเงินเฟ้อ เดือน ก.ค. 64 อยูที่รอยละ 1.0จากชวงเดียวกันของปีกอนลดลงจากเดือนกอนหนาที่อยูที่รอยละ 1.1จากชวงเดียวกันของปีกอน และเป็นระดับที่ต่ำที่สุดในรอบ 3เดือน เป็นผลจากราคาสินคาปรับตัวลดลงในกลุมของอาหาร โดยเฉพาะเนื้อสุกร เป็นสำคัญมูลคาการสงออก เดือน ก.ค. 64 ขยายตัวที่รอยละ 19.3ชะลอลงจากเดือนกอนหนาที่ขยายตัวที่รอยละ 32.2จากชวงเดียวกันของปีกอน ทามกลางอุปสงค์จากตางประเทศที่ชะลอตัวลง เนื่องจากการแพรระบาดของโควิด-19 ระลอกใหมในบางประเทศ ราคาวัตถุดิบที่เพิ่มสูงขึ้น สภาพอากาศที่แปรปรวน และปัญหาดานการขนสงที่ชะลอตัวสอดคลองกับมูลคาการนำเขา เดือน ก.ค. 64 ขยายตัวที่รอยละ 28.1 จากชวงเดียวกันของปีกอนชะลอลงจากเดือนกอนหนาที่ขยายตัวที่รอยละ 36.7จากชวงเดียวกันของปีกอน จากอุปสงค์ในประเทศที่ชะลอตัว เนื่องจากการแพรระบาดของโควิด-19สายพันธุ์เดลตาในบางพื้นที่ ราคาสินคาโภคภัณฑ์ที่เพิ่มสูงขึ้น และการผลิตที่ชะลอตัวลงดุลการคา เดือน ก.ค. 64 เกินดุลการคาที่ 5.66หมื่นลานดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้นจากเดือนกอนหนาที่เกินดุลที่ 5.15 หมื่นลานดอลลาร์สหรัฐผลผลิตอุตสาหกรรม เดือน มิ.ย. 64 ขยายตัวที่รอยละ 9.7 จากชวงเดียวกันปีกอน ขยายตัวลดลงจากเดือน พ.ค. 64ที่ขยายตัวที่รอยละ 20.6และ ขยายตัวนอยกวาที่ตลาดคาดการณ์ไววาจะขยายตัวที่รอยละ 10.4
เครื่องชี้เศรษฐกิจตางประเทศGDP ไตรมาสที่ 2 ปี 64 ขยายตัวที่รอยละ 14.7 จากชวงเดียวกันปีกอน หรือคิดเป็น การหดตัวที่รอยละ -1.8 เมื่อเทียบกับไตรมาสกอนหนา (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแลว) ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน มิ.ย. 64 ขยายตัวที่รอยละ 13.6จากชวงเดียวกันของปีกอน ชะลอลงจากเดือนกอนหนาที่อยูที่รอยละ 28.6จากชวงเดียวกันของปีกอน และเป็นการชะลอลงติดตอกันเป็นเดือนที่ 2หลังจากขยายตัวสูงมากในเดือน เม.ย. 64ถึงรอยละ 134.6จากชวงเดียวกันของปีกอนยอดคาปลีก เดือน มิ.ย. 64 ขยายตัวที่รอยละ 2.5 จากชวงเดียวกันปีกอน ลดลงจากเดือนกอนหนาที่รอยละ 14.7จากชวงเดียวกันปีกอน เนื่องจากยอดขายในหมวดอาหาร เครื่องดื่มและยาสูบ เป็นสำคัญดัชนีความเชื่อมั่นผูบริโภคอยูที่ระดับ 80.2 จุด ลดลงจากเดือนกอนหนาที่อยูที่ระดับ 107.4 จุด เนื่องจากมาตรการควบคุมการแพรระบาดที่เขมงวดขึ้น
GDP ไตรมาสที่ 2 ปี 64 ขยายตัวที่รอยละ 16.1 จากชวงเดียวกันปีกอน หรือคิดเป็นการหดตัวที่รอยละ -2.0เมื่อเทียบกับไตรมาสกอนหนา (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแลว) ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน มิ.ย. 64 ขยายตัวที่รอยละ 1.4 จากชวงเดียวกันปีกอน ลดลงจากเดือนกอนหนาที่รอยละ 26.0 เนื่องจากการผลิตของอุปกรณ์การขนสงเป็นสำคัญยอดคาปลีก เดือน มิ.ย. 64 หดตัวที่รอยละ -2.9 จากชวงเดียวกันปีกอน ลดลงจากเดือนกอนหนาที่รอยละ 17.3 จากชวงเดียวกันปีกอน เนื่องจากยอดขายในหมวดน้ำมันเชื้อเพลิงรถยนต์เป็นสำคัญอัตราการวางงาน เดือน มิ.ย. 64 อยูที่รอยละ 4.8 ของกำลังแรงงานรวม เพิ่มขึ้นจากเดือนกอนหนาที่อยูที่รอยละ 4.5 ของกำลังแรงงานรวม
GDP ไตรมาสที่ 2 ปี 64 ขยายตัวที่รอยละ 11.8 จากชวงเดียวกันปีกอน หรือคิดเป็นการหดตัวที่รอยละ -1.3เมื่อเทียบกับไตรมาสกอนหนา (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแลว)ธนาคารกลางฟิลิปปินส์ประกาศคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายอยูที่รอยละ 2.0 ตอปีอัตราการวางงาน เดือน ก.ค. 64 อยูที่รอยละ 3.3 ของกำลังแรงงานรวม ชะลอตัวลงจากเดือนกอนหนาที่อยูที่รอยละ 3.7 ของกำลังแรงงานรวม ซึ่งถือเป็นอัตราการวางงานที่ต่ำที่สุดนับตั้งแตเดือน ส.ค. 63ทามกลางการฟืนตัวจากสถานการณ์การแพรระบาดของไวรัสโควิด-19ในบางพื้นที่ เครื่องชี้เศรษฐกิจตางประเทศมูลคาการสงออก เดือน ก.ค. 64 ขยายตัวที่รอยละ 59.7จากชวงเดียวกันของปีกอน ชะลอตัวลงจากเดือนกอนหนาที่ขยายตัวที่รอยละ 35.1 จากชวงเดียวกันของปีกอน แตหากพิจารณามูลคารูปตัวเงินจะคิดเป็น 3.8 หมื่นลานดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเป็นระดับที่สูงที่สุดเป็นประวัติการณ์มูลคาการนำเขา เดือน ก.ค. 64 ขยายตัวที่รอยละ 41.0จากชวงเดียวกันของปีกอน ชะลอตัวลงจากเดือนกอนหนาที่ขยายตัวที่รอยละ 42.3จากชวงเดียวกันของปีกอน แตสูงกวาที่ตลาดคาดการณ์ไวดุลการคาเดือน ก.ค. 64 เกินดุลการคาที่ 5.9 พันลานดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้นจากเดือนกอนหนาที่อยูที่ 5.15 พันลานดอลลาร์สหรัฐ
GDPไตรมาสที่ 2 ปี 64 ขยายตัวรอยละ 22.2 จากชวงเดียวกันปีกอน เนื่องจากการบริโภคภาคครัวเรือน การลงทุนถาวร (fixed investment)และการใชจายของรัฐที่เพิ่มขึ้นผลผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือน มิ.ย. 64 ปรับตัวลดลงมาอยูที่รอยละ 13.9 เมื่อเทียบกับ เดือนเดียวกันของปีกอน จากรอยละ 28.2ในเดือนกอนหนา โดยผลผลิตยังคงต่ำกวาระดับในเดือน ก.พ. 63อยูรอยละ 2.3
เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยนดัชนี SETปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์กอนเล็กนอย สอดคลองกับ ตลาดหลักทรัพย์อื่น ๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลง เชน Nikkei225 (ญี่ปุ่น)HIS(ฮองกง) และKLCI(มาเลเซีย) เป็นตน เมื่อวันที่ 11ส.ค. 64 ดัชนีปิดที่ระดับ 1,532.71จุด ดวยมูลคาซื้อขายเฉลี่ยระหวางวันที่ 9-11ส.ค. 64อยูที่ 83,753.41ลานบาทตอวัน โดย นักลงทุนตางชาติเป็นผูขายสุทธิขณะที่นักลงทุนทั่วไปในประเทศนักลงทุนสถาบันในประเทศและนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์เป็นผูซื้อสุทธิ ทั้งนี้ ระหวางวันที่ 9-11ส.ค. 64 ตางชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ -5,362.85ลานบาทอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลโดยรวมปรับตัวลดลงในชวง -1ถึง -8bpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 4 และ 11 ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 3.19 และ 2.68เทาของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหวางวันที่ 9-11ส.ค. 64 กระแสเงินทุนของนักลงทุนตางชาติ ไหลเขาในตลาดพันธบัตรสุทธิ 7,402.69ลานบาทและหากนับจากตนปีจนถึงวันที่ 11ส.ค. 64 กระแสเงินทุนของนักลงทุนตางชาติ ไหลเขาในตลาดพันธบัตรสุทธิ 84,349.32ลานบาทเงินบาทออนคาลงจากสัปดาห์กอน โดย ณ วันที่ 11ส.ค. 64 เงินบาทปิดที่ 33.38บาทตอดอลลาร์สหรัฐ ออนคาลงรอยละ -0.92จากสัปดาห์กอนหนา สอดคลองกับเงินสกุลเยน ยูโร ริงกิต ดอลลาร์สิงคโปร์ และหยวน ที่ปรับตัวออนคาลงจากสัปดาห์กอนเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่ เงินสกุลวอน ปรับตัวแข็งคาขึ้นจากสัปดาห์กอนเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทออนคาลงมากกวาเงินสกุลหลักอื่น ๆ ในภูมิภาค สงผลให ดัชนีคาเงินบาท (NEER)ออนคาลงรอยละ -0.36 จากสัปดาห์กอน
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง