รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 25 ก.พ. 65

ข่าวเศรษฐกิจ Tuesday March 1, 2022 14:55 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

Executive Summary

1 1

? เศรษฐกิจไทย ไตรมาส 4 ปี 64 ขยายตัวที่ร้อยละ 1.9 ต่อปี ทาให้เศรษฐกิจไทย

ในปี 64 ขยายตัวที่ร้อยละ 1.6 ต่อปี

? นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเดินทางเข้าประเทศไทย ในเดือน ม.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ

1,640.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

? ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรมในเดือน ม.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 3.1 เมื่อเทียบ

กับช่วงเดียวกันของปีก่อน ขณะที่ดัชนีราคาสินค้าเกษตรกรรม ขยายตัวที่ร้อยละ

5.0 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

? ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งในเดือน ม.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 45.1 เมื่อเทียบ

กับช่วงเดียวกันของปีก่อน

? ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ในเดือน ม.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 17.9

เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

? การเบิกจ่ายงบประมาณรวมในเดือน ม.ค. ปีงบประมาณ 65 หดตัวร้อยละ

-2.8 ต่อปี

? รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท.) ในเดือน ม.ค. ปีงบประมาณ 65

ขยายตัวร้อยละ 5.0 ต่อปี

? ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในเดือน ม.ค. ปีงบประมาณ 65

เกินดุลจานวน 32,758 ล้านบาท

? ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลจัดเก็บได้ ณ ระดับราคาคงที่ในเดือน ม.ค. 65 ขยายตัวที่

ร้อยละ 17.4 ต่อปี

? ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน ม.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ

3.9 ต่อปี

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

เศรษฐกิจไทยในไตรมาส 4 ปี 64 ขยายตัวร้อยละ 1.9 ต่อปี ปรับตัวดีขึ้นจากการหดตัวร้อยละ -0.2 ต่อปี ในไตรมาส 3 ปี 64 และเมื่อปรับผลของฤดูกาลออกแล้ว เศรษฐกิจไทยในไตรมาส 4ปี 64ขยายตัวจากไตรมาสก่อนหน้าร้อยละ 1.8ส่งผลให้เศรษฐกิจไทยทั้งปี 64ขยายตัวได้ที่ร้อยละ 1.6ต่อปี

ในส่วนของภาคการผลิต การผลิตสินค้าอุตสาหกรรมขยายตัวร้อยละ 3.8ขยายตัวในทุกกลุ่มอุตสาหกรรม ทั้งสินค้าอุตสาหกรรมเบา อุตสาหกรรมวัตถุดิบ และอุตสาหกรรมสินค้าทุนและเทคโนโลยี เป็นผลมาจากการขยายตัวของอุปสงค์ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ขณะที่การผลิตสาขาเกษตรกรรมขยายตัวได้เล็กน้อยที่ร้อยละ 0.7ในส่วนของการผลิตสาขาบริการ โดยเฉพาะสาขาที่เกี่ยวเนื่องกับภาคการท่องเที่ยวมีทิศทางที่ฟื้นตัวขึ้น ได้แก่ สาขาการขายส่งและการขายปลีกขยายตัวร้อยละ 2.9 สาขาการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า ขยายตัวร้อยละ 3.2 ขณะที่สาขาที่พักแรมและบริการด้านอาหาร ลดลงร้อยละ -4.9 เทียบกับการลดลงร้อยละ -19.0 ในไตรมาสก่อนหน้า ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากมาตรการสนับสนุนของภาครัฐ อาทิ โครงการเราเที่ยวด้วยกัน โครงการทัวร์เที่ยวไทย ที่ช่วยกระตุ้นการท่องเที่ยวภายในประเทศ

Thailand

s Real GDP (

Q4 ที่มา : สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.)

โดยองค์ประกอบสาคัญที่ทาให้เศรษฐกิจไทยในไตรมาส 4 ปี 64 ขยายตัวได้ดีมาจากการส่งออกสินค้าขยายตัวที่ร้อยละ 16.6 เป็นผลจากการขยายตัวของทั้งสินค้าเกษตรและสินค้าอุตสาหกรรม โดยสินค้าเกษตรที่ส่งออกได้ดี ได้แก่ ข้าว มันสาปะหลัง และผลไม้ สาหรับการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมยังคงขยายตัวในระดับสูงต่อเนื่อง โดยเฉพาะการส่งออกรถยนต์นั่ง รถกระบะ และชิ้นส่วนยานยนต์ ที่ขยายตัวได้ดีตามอุปสงค์จากตลาดอาเซียน ตะวันออกกลาง และออสเตรเลีย เป็นสาคัญ เช่นเดียวกับการส่งออกบริการขยายตัวร้อยละ 30.5 เนื่องจากรายรับจากค่าบริการขนส่งสินค้าขยายตัวในระดับสูง ตามปริมาณการค้าระหว่างประเทศที่เพิ่มขึ้น ประกอบกับค่าบริการธุรกิจอื่น ๆ และรายรับจากการท่องเที่ยวขยายตัวได้ในเกณฑ์ดี ขณะที่การบริโภคภาคเอกชนกลับมาขยายตัวได้ร้อยละ 0.3 โดยมีปัจจัยสาคัญมาจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค โควิด 1919เริ่มคลี่คลาย และจานวนผู้ติดเชื้อในประเทศที่มีแนวโน้มลดลง ขณะที่ภาครัฐเริ่มผ่อนคลายมาตรการต่าง ๆ ที่ใช้ในการควบคุมโรค รวมทั้งดาเนินมาตรการเพื่อกระตุ้นการใช้จ่าย และสนับสนุนกาลังซื้อของประชาชนอย่างต่อเนื่อง

เดือน ม.ค. 65 จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยลดลงจากเดือนก่อนหน้าจากการที่รัฐบาลต้องมีมาตรการชั่วคราวเพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 สายพันธุ์โอมิครอน ขณะที่การท่องเที่ยวภายในประเทศยังคงขยายตัวได้

จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ (คน)

Indicators

(%yoy)

2020

2021

2022

ทั้งปี

Q

3 Q

4 Dec

ทั้งปี

Jan

จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเข้าประเทศ

-83.2

100.0

3060.5

0.23

-

99.7 1,640

%

mom_sa, qoq_sa -

187.1

567.3

3,415.8

-

-

33.6

จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย

-46.4

-

87.8 -

29.7 4.7

77.9

127.2

%

mom_sa, qoq_sa -

-

65.5 322.8

38.0

-

15.5

อัตราการเข้าพักเฉลี่ย 29.5

5.5

26.3

37.5

14.0

35.6

4

จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย (ล้านคน)

ในเดือน ม.ค. 65 นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเดินทางเข้าประเทศไทย จานวน 133,903 คน ขยายตัวสูงที่ ร้อยละ 1,640.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน จากปัจจัยฐานต่า แต่เมื่อขจัดผลทางฤดูการแล้ว พบว่า หดตัวที่ร้อยละ -33.6 โดยจานวนนักท่องเที่ยวที่ลดลงนั้นเป็นผลจากมาตรการระงับการลงทะเบียน Thailand Pass

ชั่วคราว เพื่อป้องการการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสสายพันธุ์ โอมิครอน ตั้งแต่วันที่ 22 ธ.ค. 64 31 ม.ค. 65

ด้านการท่องเที่ยวของชาวไทย สะท้อนจาก จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยในเดือน ม.ค. 64 มีจานวน 15.4 ล้านคน ลดลงจากเดือนก่อนเล็กน้อย โดยคิดเป็น การขยายตัวที่ร้อยละ 127.2 ต่อปี ส่วนหนึ่งเป็นผลจากปัจจัยฐานต่าเนื่องจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส โควิด-19 ที่สมุทรสาครในปี 64อย่างไรก็ดี เมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแล้วพบว่าขยายตัวที่ร้อยละ 15.5สะท้อนว่าการท่องเที่ยวภายในประเทศยังคงขยายตัวได้อย่างไรก็ดี ศบค. มีมติยกเลิกการระงับการลงทะเบียน Thailand PassPassให้นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติจากทุกประเทศสามารถเดินทางเข้าไทยได้ผ่านโครงการTest GoGoและ SandboxSandboxทาให้ตั้งแต่วันที่ 1-15 ก.พ. 65 มีนักเดินทางชาวต่างชาติเดินทางเข้าประเทศไทยแล้ว 64,671 คน นอกจากนี้ ศบค. ยังมีมติเห็นชอบมาตรการป้องกันโควิด-19 สาหรับการเดินทางเข้าราชอาณาจักร จากเดิมตรวจหาเชื้อด้วยวิธี RT PCR 22ครั้ง ปรับเหลือ 1 ครั้ง และตรวจครั้งที่ 2 ด้วยATKATKตั้งแต่วันที่ 1 มี.ค. 65 เป็นต้นไป ซึ่งคาดว่าจะเป็นผลดีต่อการท่องเที่ยว

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรมในเดือน ม.ค. 65ขยายตัวที่ร้อยละ 3.1เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน หรือคิดเป็นการขยายตัวร้อยละ 2.3เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลัง ขจัดผลทางฤดูกาล

หากพิจารณารายหมวดผลผลิตสินค้าเกษตรในเดือน ม.ค. 65พบว่า ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรมขยายตัวในหมวดพืชผลสาคัญและหมวดประมงที่ร้อยละ 4.2และ 15.0ตามลาดับ ขณะที่ผลผลิตในหมวดปศุสัตว์หดตัวที่ร้อยละ -1.8 โดยสินค้าเกษตรสาคัญที่มีผลผลิตเพิ่มขึ้น ได้แก่ ข้าวเปลือก อ้อย ปาล์มน้ามัน และกุ้งขาวแวนนาไมขณะที่สินค้าสาคัญที่มีผลผลิตลดลง ได้แก่ ข้าวโพด มันสาปะหลัง และสุกร

ดัชนีราคาสินค้าเกษตรกรรมในเดือน ม.ค. 65ขยายตัวที่ร้อยละ 5.0เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน หรือคิดเป็นการขยายตัวร้อยละ 6.0เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลัง ขจัดผลทางฤดูกาล

หากพิจารณารายหมวดราคาสินค้าเกษตรในเดือน ม.ค. 65 พบว่า ดัชนีราคาสินค้าเกษตรขยายตัวในหมวดปศุสัตว์และหมวดประมงที่ร้อยละ 21.1 และ 26.4ตามลาดับ ขณะที่ผลผลิตในหมวดพืชผลสาคัญหดตัวเล็กน้อยที่ร้อยละ -0.1 โดยสินค้าเกษตรสาคัญที่ราคาเพิ่มขึ้น ได้แก่ มันสาปะหลัง ข้าวโพด ปาล์มน้ามัน สุกร ไก่ ไข่ไก่ และกุ้งขาวแวนนาไมขณะที่สินค้าที่ราคาลดลง ได้แก่ ข้าวเปลือก ยางพารา และกลุ่มไม้ผล

Indicators

(%yoy)

2020

2021

2022

ทั้งปี

Q3

Q4

Dec

ทั้งปี

Jan

ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตร

-4.2

4.0

-0.9

0.9

1.6

3.1

%mom_sa, %qoq_sa

-

0.6

0.4

-4.7

-

2.3

ดัชนีราคาสินค้าเกษตร

6.1

-

4.4.6

-4.5

-2.3

3.0

5.0

%mom_sa, %qoq_sa

-

-

8.2 4.1

2.5

-

6.0

5

ที่มา : สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร

รายได้เกษตรที่แท้จริง (หักผลของเงินเฟ้อ ชุดชนบท) ในเดือนม.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 3.8 จาก ปาล์มน้ามัน หมวด ปศุสัตว์ หมวดประมง และมันสาปะหลังเป็นสาคัญ

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งในเดือน ม.ค. 65 มีจานวน 2323,365คัน กลับมาขยายตัวในระดับสูงที่ร้อยละ 45.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ขยายตัวที่ร้อยละ 14.3

โดยเป็นผลจากปัจจัยฐานต่าในปีก่อนที่มีการแพร่ระบาดของโควิด-19 เป็นวงกว้างและรวดเร็ว ประกอบกับสถานการณ์การขาดแคลนเซมิคอนดักเตอร์ที่เริ่มคลี่คลาย นอกจากนี้ สถานการณ์การแพร่ระบาดที่มีแนวโน้มดีขึ้น ส่งผลให้ความต้องการซื้อในปัจจุบันปรับตัวเพิ่มขึ้น

Indicators

(%yoy)

2020

2021

2022

ทั้งปี

Q

3 Q4

Dec

ทั้งปี

Jan

ยอดขายรถยนต์นั่ง

-30.30.6

-19.2

-17.7

-29.1

-10.1

45.1

%mom_sa,

sa,%qoq_sa -

-4.9

10.0

-1.4

-

14.3

6

ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ในเดือน ม.ค. 65มีจานวน 51,990คัน ขยายตัวร้อยละ 17.9 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และขยายตัวร้อยละ 18.0เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังปรับผลทางฤดูกาล ตามปริมาณการจาหน่ายรถกระบะ 1ตัน ที่ขยายตัวร้อยละ 16.1และ 20.1ตามลาดับ

ยอดจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์เดือน ม.ค. 65 กลับมาขยายตัวสูง โดยมีปัจจัยหนุนจากมาตรการเยียวยา ผู้ได้รับกระทบของโควิดและมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจจากรัฐบาล อาทิ คนละครึ่ง เราเที่ยวด้วยกัน ยิ่งใช้ ยิ่งได้ การประกันรายได้เกษตรกร การผ่อนคลายการล็อกดาวน์ การเปิดประเทศต้อนรับนักท่องเที่ยวต่างชาติ รวมถึงการทยอยส่งมอบรถจากการจัดงานส่งเสริมการขายของผู้จาหน่ายรถยนต์ช่วง ธ ค 64 อย่างไรก็ดีการแพร่ระบาดของโควิดสายพันธุ์ใหม่ที่ทาให้พบผู้ติดเชื้อเพิ่มสูงขึ้น อาจเป็นปัจจัยเสี่ยงสาคัญที่ทาให้ยอดขายรถลดลง

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

การเบิกจ่ายงบประมาณรวมในเดือน ม.ค. ปีงบประมาณ 65 เบิกจ่ายได้ทั้งสิ้น 201,238 ล้าน

บาท หดตัวร้อยละ -2.8 ต่อปี ทาให้ 4 เดือนแรกเบิกจ่ายได้ 1,260,383 ล้านบาท ขยายตัว

ร้อยละ 3.4 คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 37.8

รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท .) ในเดือน ม .ค. ปีงบประมาณ 65

ได้ 196,765 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 5.0 ต่อปี ทาให้ 4 เดือนแรกจัดเก็บได้ 758,390 ล้าน

บาท ขยายตัวร้อยละ 6.1 ต่อปี

7

โดยรายได้ขยายตัวจากภาษีมูลค่าเพิ่มที่ขยายตัวร้อยละ 20.9 ต่อปี ซึ่งขยายตัวตามมูลค่าการนาเข้าที่ขยายตัว

สูงกว่าปีก่อน ภาษีสรรพสามิต ที่ขยายตัวร้อยละ 10.8 ต่อปี จากภาษีน้ามันฯ และภาษียาสูบที่จัดเก็บได้สูงกว่า

ปีก่อน และภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ที่ขยายตัวร้อยละ 11.7 ต่อปี

ที่มา : กรมสรรพากร คานวณโดย สศค.

โดย (1 ) รายจ่ายปีปัจ จุบัน เบิกจ่ายไ ด้

182,756 ล้านบาท หดตัวร้อยละ -3.3 ต่อ

ปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 37.6

ทั้งนี้ แบ่งออกเป็น (1.1) รายจ่ายประจา

162,474 ล้านบาท หดตัวร้อยละ -5.8 ต่อ

ปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 42.0

และ (1.2) รายจ่ายลงทุน 20,282 ล้านบาท

ขยายตัวร้อยละ 22.0 ต่อปี คิดเป็นอัตรา

เบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 19.4 (2) รายจ่ายปี

ก่อน เบิกจ่ายได้ 18,481 ล้านบาท ขยายตัว

ที่ร้อยละ 2.7 ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่าย

สะสมที่ร้อยละ 39.6 ต่อปี

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในเดือน ม .ค. ปีงบประมาณ 65 พบว่า

ดุลเงินงบประมาณเกินดุลจานวน 32,758 ล้านบาท

ทั้ง นี้เ มื่อ ร ว ม กับ ดุล น อ ก

งบประมาณแล้วพบว่าเกินดุล

194 ล้านบาท ดุลเงินสดก่อนกู้

เ กิน ดุล 3 2 , 9 5 2 ล้า น บ ท

โดยในเดือนนี้ รัฐบาลมีการกู้

เงิน 33,445 ล้านบาท ทาให้

ดุล เ งิ น สุด ห ลัง กู้ เ กิ น ดุล

66,397 ล้านบาท ทั้งนี้จานวน

เ งิน ค ง ค ลัง ป ล ย ง ว ด อ ยู่ที่

403,579 ล้านบาท

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลจัดเก็บได้ ณ ระดับราคาคงที่ในเดือน ม.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 17.4 ต่อปี แต่เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวที่ร้อยละ -9.3

โดยเป็นขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 11 แบ่งเป็นภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการใช้จ่ายภายในประเทศ ขยายตัวได้ที่ร้อยละ 2.4 ต่อปี จากผลของมาตรการเพิ่มกาลังซื้อให้แก่ผู้บริโภค ประกอบกับการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่ระบาด ส่งผลให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น การดาเนินธุรกิจและชีวิตของประชาชนกลับมาเข้าใกล้ภาวะปกติ ขณะที่ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการนาเข้า ขยายตัวในระดับสูงที่ร้อยละ 45.4ต่อปี จากทิศทางการนาเข้าที่ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง และการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกเครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

ดัชนีราคากลางบ้าน เดือน ธ.ค. 64 ขยายตัวคงที่จากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 1.2 จากเดือนก่อนหน้า (ขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว)จากดัชนีราคาบ้านในเขต Pacific Mountain West

North Central West South Central South AtlanticAtlanticและ New EnglandEnglandที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น ขณะที่ราคาบ้านในเขต East North Central East South CentralCentralและ Middle Atlantic Atlanticลดลง

ยอดขายบ้านใหม่ เดือน ม.ค. 65 หดตัวร้อยละ -4.5 จากเดือนก่อนหน้า (ขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว)สวนทางจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 12.0จากยอดขายบ้านที่ปรับตัวลดลงในเกือบทุกเขต

จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (1313-199ก.พ. 6565) อยู่ที่ระดับ 2.3232แสนรายปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ระดับ 22.49 แสนราย สอดคล้องกับจานวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการว่างงาน ระยะเฉลี่ย 4 สัปดาห์ 4 week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ปรับตัวลดลงต่อเนื่องเป็นสัปดาห์ที่ 3 อยู่ที่ 2.36 แสนราย

สหรัฐฯ

10

ยูโรโซน

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เบื้องต้น เดือน ก.พ. 65 อยู่ที่ระดับ 58.4 จุด ลดลงจากเดือน ม.ค. 65ที่อยู่ที่ระดับ 58.7จุด เนื่องจากประสบกับภาวะอุปทานคอขวด

ดัชนีฯ PMIPMIภาคบริการ เบื้องต้น เดือน ก.พ. 65 อยู่ที่ระดับ 55.8 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือน ม.ค. 65 ที่อยู่ที่ระดับ 51.1 จุด เนื่องจากมีการผ่อนคลายมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19เพิ่มมากขึ้น ทาให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจของภาคบริการกลับมาดาเนินการได้เพิ่มขึ้น

ฮ่องกง

อัตราการว่างงาน เดือน ม.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 3.9 ของกาลังแรงงานรวมคงที่จากเดือนก่อนหน้า ซึ่งเป็นระดับที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่ เดือน มี.ค. 63โดยอัตราว่างงานลดลงในภาคการผลิต การขนส่ง และการจัดเก็บ เป็นสาคัญ

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ม.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 1.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อนลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.4จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และเป็นระดับที่ต่าสุดในรอบ 7เดือน จากการเพิ่มขึ้นของค่าไฟที่ชะลอลง และราคาผักสดที่ลดลง เป็นสาคัญ

มูลค่าการส่งออก เดือน ม.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 18.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อนชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 24.8จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และเป็นระดับที่ต่าที่สุดในรอบ 4เดือน

มูลค่าการนาเข้า เดือน ม.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 9.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อนชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 19.3จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดุลการค้า เดือน ม.ค. 65 เกินดุลที่ 6.6 พันล้านดอลลาร์ฮ่องกงซึ่งเป็นการกลับมาเกินดุล ครั้งแรกในรอบประมาณ 13ปี

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

11

เกาหลีใต้

ธนาคารกลางเกาหลีใต้มีมติคงอัตราดอกเบี้ยที่ร้อยละ 1.25 ต่อปีคงที่จากการประชุมครั้งก่อน จากความกังวลต่อสถานการณ์การพร่ระบาดที่มียอดผู้ติดเชื้อเพิ่มสูงขึ้น และสถานการณ์ความตึงเครียดในยูเครนอาจส่งผลกระทบต่อแนวโน้มเศรษฐกิจ

สิงคโปร์

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ม.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 4.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน คงที่จากเดือนก่อนหน้า

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน ม.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 16.7จากช่วงเดียวกันปีก่อน

ไต้หวัน

อัตราการว่างงาน เดือน ม.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 3.7 ของกาลังแรงงานรวมคงที่จากเดือนก่อนหน้า

ยอดค้าปลีก เดือน ม.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 6.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 3.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เป็นผลจากยอดขายสินค้าในกลุ่ม อาหาร เครื่องดื่ม และยาสูบ สิ่งทอและเสื้อผ้า และเครื่องใช้ในครัวเรือน ที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น เป็นสาคัญ

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน ม.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 10.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 8.7จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

มาเลเซีย

อัตราเงินเฟ้อ เดือน ม.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 2.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 3.2จากช่วงเดียวกันปีก่อน เนื่องจากต้นทุนค่าขนส่งเป็นสาคัญ

สหราชอาณาจักร

ออสเตรเลีย

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เบื้องต้น เดือน ก.พ. 65 อยู่ที่ระดับ 57.3 จุด คงที่จากเดือน ม.ค. 65ที่อยู่ที่ระดับ 57.3จุด ทั้งนี้ ทางผู้ผลิตได้รายงานว่าประสบกับปัญหาแรงงานขาดแคลนเนื่องจากการแพร่ระบาดของโควิด-19

ดัชนีฯ PMIPMIภาคบริการ (เบื้องต้น) เดือน ก.พ. 65 อยู่ที่ระดับ 60.8 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือน ม.ค. 65ที่อยู่ที่ระดับ 54.1จุด เนื่องจากการรัฐบาลสหราชอาณาจักรได้ผ่อนคลายมาตรการควบคุมโรคโควิด-19

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เบื้องต้น เดือน ก.พ. 65 อยู่ที่ระดับ 57.6 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือน ม.ค. 65ที่อยู่ที่ระดับ 55.1จุด เนื่องจากอุปสงค์ภายในประเทศที่ฟื้นตัวจากสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด-19ที่ปรับตัวดีขึ้น

ดัชนีฯ PMIPMIภาคบริการ เบื้องต้น เดือน ก.พ. 65 อยู่ที่ระดับ 56.4 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือน ม.ค. 65ที่อยู่ที่ระดับ 46.6จุด เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19ได้คลี่คลายลง ทาให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจสามารถกลับฟื้นตัวอีกครั้ง

เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

Foreign

E xchange 24

Feb 22 1w %

chg 1m %

chg YTD %

chg Avg

2021 % chg

USD/THB

32.45

-

0.67 1.75

2.79

-

1.40

USD/JPY

114.62

0.59

-

0.76 0.43

-

4.33

EUR/USD

1.13

-

0.23 0.35

-

0.10 -

4.09

USD/MYR

4.20

-

0.26 -

0.30 -

0.60 -

1.22

USD/KRW

1,192.10

0.40

0.13

-

0.56 -

4.17

USD/SGD

1.35

-

0.51 -

0.51 -

0.04 -

0.57

USD/CNY

6.33

0.06

0.21

0.75

1.91

NEER

110.23

-

0.68 1.92

2.89

-

0.04

ค่าเงินสกุลต่างๆ เครื่องหมาย + คือแข็งค่าขึ้น และเครื่องหมาย -คืออ่อนค่าลง เมื่อเทียบกับค่าเงินดอลลาร์สหรัฐดัชนีค่าเงินบาท (NEER) แข็งค่าขึ้น (+) หรืออ่อนค่าลง (-) ในช่วงระยะเวลาดังกล่าวโดยคิดเป็นอัตราร้อยละ

ดัชนี SETSETปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อนสอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่น ๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน เช่น Nikkei 225 ญี่ปุ่น)HIS ฮ่องกง) และ DAX เยอรมนี) เป็นต้น เมื่อวันที่ 2424ก.พ. 655ดัชนีปิดที่ระดับ 1,662.72 ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 2121-2424ก.พ. 655อยู่ที่ 103,061.22ล้านบาทต่อวัน โดยนักลงทุนต่างชาติ และนักลงทุนทั่วไปในประเทศ เป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่ นักลงทุนสถาบันในประเทศ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ เป็นผู้ขายสุทธิ ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 2121-2424ก.พ. 655นักลงทุนต่างชาติ ซื้อหลักทรัพย์สุทธิ 1,394.56ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุโดยรวมปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 1 ถึง 4 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 222ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 1.181.18เท่าของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 21 2424ก.พ. 655กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ 236.92 ล้านบาทและหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 2424ก.พ. 6565กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ 128,022.54ล้านบาท

เงินบาทอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่ 2424ก.พ. 655เงินบาทปิดที่ 32.45.45บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงร้อยละ 00.6767จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลยูโร ริงกิตและดอลลาร์สิงคโปร์ ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่เงินสกุลเยน วอน และหยวน ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทอ่อนค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค ส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER)อ่อนค่าลงร้อยละ 00.6868จากสัปดาห์ก่อน

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ