เศรษฐกิจไทย
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI) เดือน ก.พ. 65 ลดลงอยู่ที่ระดับ
86.7 จากระดับ 88.0 ในเดือนก่อน
? ดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคในเดือน ก.พ. 65 ปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ระดับ
43.3 จากระดับ 44.8 ในเดือนก่อน
เศรษฐกิจไทย
ภาคการเงิน
? ระดับสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ในเดือน ม.ค. 65 คิดเป็น
1.91 เท่าของสินทรัพย์สภาพคล่องที่ต้องดารงตามกฎหมาย
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
3
ดัชนี TISITISIเดือน ก.พ. 665 ปรับตัวลดลงเป็นครั้งแรกในรอบ 6 เดือน โดยทุกองค์ประกอบของดัชนีฯ ปรับตัวลงจากเดือนก่อนหน้า ทั้งคาสั่งซื้อโดยรวม ยอดขายโดยรวม ปริมาณการผลิต ต้นทุนประกอบการ และผลประกอบการ โดยเฉพาะต้นทุนประกอบการที่ลดลงมาอย่างต่อเนื่อง จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 สายพันธุ์ OmicronOmicronที่พบผู้ติดเชื้อมากขึ้น และปัญหาต้นทุนการผลิตของผู้ประกอบการสูงขึ้นจากราคาพลังงานยังลอยตัวในระดับสูงจาก ข้อพิพาทระหว่างรัสเซียและยูเครน อย่างไรก็ดี ผลกระทบจากการระบาดในรอบนี้คาดว่าจะไม่มากเท่ากับในช่วงก่อนหน้า เนื่องจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจยังสามารถดาเนินต่อได้ และการออกมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐมีส่วนช่วยรักษาการบริโภคในประเทศได้ในระดับหนึ่ง ประกอบกับภาคการส่งออกยังมีแนวโน้มขยายตัวได้ต่อเนื่อง ส่งผลให้ดัชนีความเชื่อมั่นคาดการณ์ในอีก 3เดือนข้างหน้า เพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ระดับ 97.1จากระดับ 96.4ในเดือนก่อน
Thai Industries Sentiment Index : TISI
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI) เดือน ก.พ. 65 ลดลงอยู่ที่ระดับ 86.7 จากระดับ 88.0 ในเดือนก่อน
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
4
ดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภคในเดือน ก.พ. 65 ปรับตัวลดลงมาอยู่ที่ระดับ 43.3 จากระดับ 44.8 ในเดือนก่อน ซึ่งเป็นการปรับตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 2 ติดต่อกัน
โดยเป็นผลมาจากผู้บริโภคมีความกังวลเกี่ยวกับการแพร่ระบาดของไวรัสโควิดสายพันธุ์โอมิครอน รวมถึง ความกังวลอย่างมากเกี่ยวกับสถานการณ์สงครามระหว่างรัสเซียและยูเครน ที่อาจส่งผลให้ราคาน้ามันในตลาดโลกมีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้น และกระทบต่อต้นทุนการผลิตสินค้า ซึ่งอาจเป็นปัจจัยที่เพิ่มแรงกดดันของการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกให้ช้าลงหรือชะลอตัวลง และอาจส่งผลกระทบในเชิงลบต่อการส่งออกและเศรษฐกิจไทยในอนาคต
เครื่องชี้ภาคการเงิน
Indicators
(%
yoy
2021
2022
Q3
Q4
ทั้งปี
Jan
Feb
YTD
ดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภค
40.6
45.0
44.7
44.8
43.3
44.1
44.8
43.3
0
8
16
24
32
40
48
56
Jan
Feb
Mar
Apr
May
Jun
Jul
Aug
Sep
Oct
Nov
Dec
Jan
Feb
2564
2565
ระดับสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ในเดือน ม.ค. 655คิดเป็น 1.9191เท่าของสินทรัพย์ สภาพคล่องที่ต้องดารงตามกฎหมาย
โดยยอดคงค้างสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์ทั้งระบบในเดือน ม.ค. 655อยู่ที่ 5.4 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากเดือนก่อนหน้า ทั้งนี้ ธปท. ได้ปรับเกณฑ์การดารงสินทรัพย์สภาพคล่องของธนาคารพาณิชย์จากเกณฑ์เดิมที่ต้องดารงสินทรัพย์สภาพคล่องไม่ต่ากว่าร้อยละ 6 ของเงินรับฝากเป็นไม่ต่ากว่าร้อยละ 100 (หรือ 1.0 เท่า) ของประมาณการกระแสเงินสดไหลออกสุทธิในสภาวะวิกฤต (Liquidity Coverage Ratio: LCR) ตั้งแต่เดือน ม.ค. 59
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
มูลค่าการส่งออก เดือน ม.ค. 6565ขยายตัวที่ร้อยละ 15.515.5จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 20.620.6จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และเป็นระดับที่ต่าที่สุดในรอบ 10 เดือน
มูลค่าการนาเข้า เดือน ม.ค. 6565ขยายตัวที่ร้อยละ 21.421.4จากช่วงเดียวกันของปีก่อนเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 19.919.9จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ดุลการค้า เดือน ม.ค. 6565ขาดดุลที่ 1.021.02แสนล้านดอลลาร์สหรัฐเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขาดดุลที่ 1.00 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ก.พ. 65 อยู่ที่ร้อยละ 7.97.9จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 7.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (26 ก.พ 55มี.ค. 6565) อยู่ที่ระดับ 2.2727แสนรายปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ระดับ 2.162.16แสนราย และสูงกว่าคาดการณ์ตลาด สอดคล้องกับจานวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการว่างงาน ระยะเฉลี่ย 4 สัปดาห์ 4 week moving
average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ปรับตัวเพิ่มขึ้นที่ 2.311แสนราย
สหรัฐฯ
5
ยูโรโซน
จีน
มูลค่าการส่งออก เดือน ม.ค ก.พ. 6565ขยายตัวที่ร้อยละ 16.316.3จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือน ธ.ค. 6464ที่ขยายตัวที่ร้อยละ 29.929.9จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และเป็นระดับที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่เดือน ม.ค. 64 จีนคานวนข้อมูล 2 เดือนเข้าด้วยกันเพื่อขจัดผลของวันหยุดยาวช่วงปีใหม่
มูลค่าการนาเข้า เดือน ม.ค ก.พ. 6565ขยายตัวที่ร้อยละ 15.515.5จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือน ธ.ค. 6464ที่ขยายตัวที่ร้อยละ 30.130.1จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และเป็นระดับที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่เดือน ม.ค. 64
ดุลการค้า เดือน ม.ค ก.พ. 6565เกินดุลที่ 1.161.16แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้นจากเดือน ธ.ค. 64 ที่เกินดุลที่ 0.94 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ก.พ. 65 อยู่ที่ร้อยละ 0.99จากช่วงเดียวกันของปีก่อน คงที่จากเดือนก่อนหน้า ซึ่งเป็นระดับที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่เดือน ต.ค. 6565และสาหรับเป้าหมายอัตราเงินเฟ้อของจีนในปี 65 คงที่จากปี 64 ที่อยู่ที่ร้อยละ 3.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ธนาคารกลางยุโรปมีมติคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ร้อยละ 0.0 ต่อปี จากการประชุมในเดือน มี.ค. 64 โดยธนาคารกลางยุโรปได้ให้ความเห็นว่าความขัดแย้งระหว่างยูเครน-รัสเซียจะส่งผลให้ราคาสินค้าพลังงานและโภคภัณฑ์ปรับตัวสูงขึ้น
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
6
ไต้หวัน
มูลค่าการส่งออก เดือน ก.พ. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 34.834.8จากช่วงเดียวกันของปีก่อนเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 16.716.7จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และเป็นระดับที่ต่าที่สุดในรอบ 10เดือน
มูลค่าการนาเข้า เดือน ก.พ. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 3535.33จากช่วงเดียวกันของปีก่อนเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 24.924.9จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ดุลการค้า เดือน ก.พ. 65 เกินดุลที่ 5.85.8พันล้านดอลลาร์สหรัฐเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ 4.94.9พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ก.พ. 65 อยู่ที่ร้อยละ 2.42.4จากช่วงเดียวกันของปีก่อนลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.82.8จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ออสเตรเลีย
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคเดือน มี.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 96.6 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 100.8 จุด เนื่องจากความกังวลของสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซีย-ยูเครน รวมถึงการคาดการณ์เงินเฟ้อและอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคต
ฟิลิปปินส์
มูลค่าการส่งออก เดือน ม.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 88.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 7 3จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
มูลค่าการนาเข้า เดือน ม.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 27.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 39 1จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ดุลการค้า เดือน ม.ค. 65 ขาดดุลที่ 4 7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขาดดุลที่ 5 2พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน ม.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 21.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 22.1เนื่องจากผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมกลั่นเป็นสาคัญ
อินโดนีเซีย
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน ก.พ. 65 อยู่ที่ระดับ 113.1 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 119.6จุด
ยอดค้าปลีก เดือน ก.พ. 64 อยู่ที่ร้อยละ 15.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 13.8จากช่วงเดียวกันปีก่อน เนื่องจากยอดขายน้ามันเชื้อเพลิงเป็นสาคัญ
มาเลเซีย
อัตราการว่างงาน เดือน ม.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 4.2 ของกาลังแรงงานรวม คงที่จากเดือนก่อนหน้า
เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน
Foreign
E xchange 10
Mar 22 1w %
chg 1m %
chg YTD %
chg Avg
2021 % chg
USD/THB
33.08
-
1.65 -
1.08 0.92
-
3.35
USD/JPY
115.93
-
0.17 -
0.29 -
0.70 -
5.53
EUR/USD
1.11
0.07
-
3.10 -
2.39 -
6.29
USD/MYR
4.18
0.16
0.02
-
0.31 -
0.93
USD/KRW
1,234.50
-
2.45 -
3.22 -
4.13 -
7.87
USD/SGD
1.36
-
0.15 -
1.13 -
0.54 -
1.07
USD/CNY
6.31
-
0.14 0.78
1.02
2.19
NEER
108.81
-
1.39 -
0.54 1.58
-
1.32
ค่าเงินสกุลต่างๆ เครื่องหมาย + คือแข็งค่าขึ้น และเครื่องหมาย -คืออ่อนค่าลง เมื่อเทียบกับค่าเงินดอลลาร์สหรัฐดัชนีค่าเงินบาท (NEER) แข็งค่าขึ้น (+) หรืออ่อนค่าลง (-) ในช่วงระยะเวลาดังกล่าวโดยคิดเป็นอัตราร้อยละ
ดัชนี SETSETปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อนสอดคล้องกับ ตลาดหลักทรัพย์อื่น ๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อน เช่น Nikkei 225 ญี่ปุ่น)HSI ( ฮ่องกง) และCSI 300 เซี่ยงไฮ้) เป็นต้น เมื่อวันที่ 1010มี.ค. 655ดัชนีปิดที่ระดับ 1,647.08 ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 77-1010มี.ค. 655อยู่ที่ 123,238.26 ล้านบาทต่อวัน โดยนักลงทุนต่างชาติ นักลงทุนสถาบันในประเทศ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ เป็นผู้ขายสุทธิ ขณะที่ นักลงทุนทั่วไปในประเทศ เป็นผู้ซื้อสุทธิ ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 77-1010มี.ค. 655นักลงทุนต่างชาติ ขายหลักทรัพย์สุทธิ -2,807.93ล้านบาท
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุโดยรวมปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 11ถึง 18 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 66และ 2525ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 1.651.65และ 1.261.26เท่าของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 77-1010มี.ค. 655กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ -38,678.44 ล้านบาทและหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 1010มี.ค. 6565กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ 58,320.72ล้านบาท
เงินบาทอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่ 1010มี.ค. 655เงินบาทปิดที่ 33.083.08บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงร้อยละ 11.6565จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน วอน ดอลลาร์สิงคโปร์ และหยวน ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่เงินสกุลยูโร และริงกิตปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทอ่อนค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค ส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER)อ่อนค่าลงร้อยละ 1.39.39จากสัปดาห์ก่อน
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง