เศรษฐกิจไทย
มูลค่าการส่งออกในเดือน ก.พ. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 16.2 เมื่อเทียบช่วงเดียวกันปีก่อน
เช่นเดียวกับมูลค่าการนาเข้าขยายตัวที่ร้อยละ 16.8 เมื่อเทียบช่วงเดียวกันปีก่อน
? จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยในเดือน ก.พ. 65 ขยายตัวที่
ร้อยละ 2,564.2 ต่อปี
? ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรมในเดือน ก.พ. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 8.5
เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เช่นเดียวกับดัชนีราคาสินค้าเกษตรกรรมขยายตัวที่ร้อยละ
0.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
? ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งในเดือน ก.พ. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 19.1 เมื่อเทียบกับช่วง
เดียวกันของปีก่อน
? ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ในเดือน ก.พ. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 29.8 เมื่อเทียบ
กับช่วงเดียวกันของปีก่อน
? การเบิกจ่ายงบประมาณรวมในเดือน ก.พ. ปีงบประมาณ 65 หดตัวที่ร้อยละ -7.0 ต่อปี
? รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท.) ในเดือน ก.พ. ปีงบประมาณ 65
ขยายตัวที่ร้อยละ 11.9 ต่อปี
? ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในเดือน ก.พ. ปีงบประมาณ 65 ขาดดุล
จานวน -36,814 ล้านบาท
? ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลจัดเก็บได้ ณ ระดับราคาคงที่ในเดือน ก.พ. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ
27.7 ต่อปี
? ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน ก.พ. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 5.2 ต่อปี
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
มูลค่าการส่งออกในเดือน ก.พ. 655มีมูลค่า 23,483 ล้านดอลลาร์สหรัฐ คิดเป็นการขยายตัวที่ ร้อยละ 16.2 เมื่อเทียบช่วงเดียวกันปีก่อนโดยเป็นการขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 12
การส่งออกของไทยในเดือนดังกล่าวไปยังกลุ่มตลาดสาคัญส่วนใหญ่ขยายตัวต่อเนื่อง จากอานิสงส์ของแนวโน้มการฟื้นตัวต่อเนื่องของเศรษฐกิจและการค้าโลกที่ทาให้มีความต้องการซื้อจากประเทศคู่ค้าเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ การส่งออกไปยังกลุ่มตลาดต่าง ๆ สรุปได้ดังนี้ (1) ตลาดหลัก ขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 15.8 โดยขยายตัวในตลาดสหรัฐฯ (ร้อยละ 27.2) จีน (ร้อยละ 3.0) ญี่ปุ่น (ร้อยละ 2.6) อาเซียน 5 (ร้อยละ 1.5)CLMV ร้อยละ 14.4 และสหภาพยุโรป (ร้อยละ 8.3) (2) ตลาดรอง ขยายตัวร้อยละ 12.2 ซึ่งขยายตัวได้ดีในตลาดเอเชียใต้ โดยเฉพาะอินเดีย (ร้อยละ 23.0)เป็นสาคัญ และ (3) ตลาดอื่น ๆ ขยายตัวร้อยละ 260.8
มูลค่าการนาเข้าในเดือน ก.พ. 655มีมูลค่า 233,360 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขยายตัวที่ร้อยละ 16.8 เมื่อเทียบช่วงเดียวกันปีก่อน
ด้านดุลการค้าในเดือนดังกล่าว เกินดุลมูลค่า 123.3 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เนื่องจาก กรมศุลกากรมีการปรับปรุงรหัสสถิติสินค้าตามพิกัดศุลกากรเพื่อให้สอดคล้องกับพิกัดศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์อาเซียน (AHTN) ฉบับปี 2022 กระทรวงพาณิชย์จึงอยู่ระหว่างการปรับปรุงและประมวลผลข้อมูลรายละเอียดโครงสร้างสินค้าส่งออกนาเข้าให้สอดคล้องกับรหัสสถิติสินค้าระบบพิกัดศุลกากรฉบับปัจจุบัน โดยคาดว่าจะสามารถเผยแพร่ข้อมูลการค้าระหว่างประเทศได้อย่างสมบูรณ์ ในไตรมาสแรกของปี 2565
เดือน ก.พ. 65จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าจากการเปิดให้ลงทะเบียน Thailand PassPassอีกครั้ง ขณะที่การท่องเที่ยวภายในประเทศยังคงขยายตัวได้จากอานิสงค์ของโครงการเราเที่ยวด้วยกันและทัวร์เที่ยวไทย
จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ (คน)
Indicators
(%yoy)
2021
2022
Q3
Q4
ทั้งปี
Jan
Feb
YTD
จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเข้าประเทศ
100.0
3060.5
-
99.7 1,640
2,564
2,035.15
%mom_sa, %qoq_sa
187.1
567.3
-
-
44.3 38.2
จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย
-
87.8 -
29.7 77.9
127.2
15.28
96.2
%mom_sa, %qoq_sa
-
65.5 322.8
-
20.1
17.6
อัตราการเข้าพักเฉลี่ย 5.5
26.3
14.0
35.6
35.6
35.6
4
จานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย (ล้านคน)
ในเดือน ก.พ. 65นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเดินทางเข้าประเทศไทย จานวน 152,954คน โดยส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวชาวรัสเซีย เยอรมนี ฝรั่งเศส สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา ตามลาดับ เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนพบว่า จานวนนักท่องเที่ยวขยายตัวสูงที่ร้อยละ 2,564.2 ต่อปี ส่วนหนึ่งเป็นผลจากปัจจัยฐานต่า อย่างไรก็ตาม เมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแล้วพบว่ายังขยายตัวได้ที่ร้อยละ 38.2 สะท้อนถึงการขยายตัวต่อเนื่องของการท่องเที่ยวของชาวต่างชาติ ทั้งนี้ จานวนนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนเหน้าเป็นผลมาจาก การกลับมาให้การลงทะเบียน Thailand Pass
อีกครั้งตั้งแต่วันที่ 1 ก.พ. 65 เป็นต้นมา
การท่องเที่ยวของชาวไทย สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยในเดือน ก.พ. 64มีจานวน 15.3ล้านคน ลดลงจากเดือนก่อนเล็กน้อย โดยคิดเป็น การขยายตัวที่ร้อยละ 72.4ต่อปี ส่วนหนึ่งมาจากปัจจัยฐานต่าเนื่องจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19ที่สมุทรสาครในปี 64 และได้รับปัจจัยสนับสนุนจากโครงการเราเที่ยวด้วยกันและทัวร์เที่ยวไทย และเมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแล้วพบว่าขยายตัวที่ร้อยละ 17.6สะท้อนว่า การท่องเที่ยวภายในประเทศยังคงขยายตัวได้
โดยการท่องเที่ยวในระยะถัดไป จะต้องติดตามสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซียและยูเครน และผลจาก มติ ศบค. ในวันที่ 18 มี.ค. 65 ที่การผ่อนคลายการเดินทางระความประเทศมากขึ้น
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรมในเดือน ก.พ. 65ขยายตัวที่ร้อยละ 8.5เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน หรือคิดเป็นการขยายตัวร้อยละ 3.43.4เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลัง ขจัดผลทางฤดูกาล
หากพิจารณารายหมวดผลผลิตสินค้าเกษตรในเดือน ก.พ. 65พบว่า ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรมขยายตัวในหมวดพืชผลสาคัญและหมวดประมงที่ร้อยละ 12.6และ 15.0ตามลาดับ ขณะที่ผลผลิตในหมวดปศุสัตว์หดตัวที่ร้อยละ -1.8 โดยสินค้าเกษตรสาคัญที่มีผลผลิตเพิ่มขึ้น ได้แก่ ข้าวเปลือก อ้อย ปาล์มน้ามัน และกุ้งขาวแวนนาไม ขณะที่สินค้าสาคัญที่มีผลผลิตลดลง ได้แก่ ข้าวโพด มันสาปะหลัง และสุกร
ดัชนีราคาสินค้าเกษตรกรรมในเดือน ก.พ. 65ขยายตัวที่ร้อยละ 0.4เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน หรือคิดเป็นการหดตัวร้อยละ -2.7เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลัง ขจัดผลทางฤดูกาล
หากพิจารณารายหมวดราคาสินค้าเกษตรในเดือน ก.พ. 65 พบว่า ดัชนีราคาสินค้าเกษตรขยายตัวในหมวดปศุสัตว์และหมวดประมงที่ร้อยละ 15.6 และ 29.2ตามลาดับ ขณะที่ผลผลิตในหมวดพืชผลสาคัญหดตัวที่ร้อยละ -4.8 โดยสินค้าเกษตรสาคัญที่ราคาเพิ่มขึ้น ได้แก่ ยางพารา มันสาปะหลัง ข้าวโพด ปาล์มน้ามัน สุกร ไก่ ไข่ไก่ และกุ้งขาวแวนนาไม ขณะที่สินค้าที่ราคาลดลง ได้แก่ ข้าวเปลือก และกลุ่มไม้ผล
Indicators
(%yoy)
2021
2022
Q3
Q4
ทั้งปี
Jan
Feb
YTD
ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตร
4.1
-1.5
0.7
1.0
8.5
4.5
%mom_sa, %qoq_sa
2.0
1.8
-
1.5
3.4
-
ดัชนีราคาสินค้าเกษตร
-4.5
-4.3
3.0
4.5
0.4
2..4
%mom_sa, %qoq_sa
-
4.9 4.0
-
5.3
-2.7
-
5
ที่มา : สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
รายได้เกษตรที่แท้จริง (หักผลของเงินเฟ้อ ชุดชนบท) ในเดือน ก.พ. 65ขยายตัวที่ร้อยละ 3.2 จากผลผลิตข้าวเปลือก หมวดประมง หมวดปศุสัตว์ ยางพารา ปาล์มน้ามัน และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งในเดือน ก.พ. 65 มีจานวน 2222,590 คัน ขยายตัวที่ร้อยละ 19.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ขยายตัวเล็กน้อยที่ร้อยละ 0.2
โดยเป็นผลจากปัจจัยฐานต่าในปีก่อนที่มีการแพร่ระบาดของโควิด-19 เป็นวงกว้างและรวดเร็ว ประกอบกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เพิ่มขึ้นและการช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจากโควิดของภาครัฐ รวมถึงการจัดกิจกรรมส่งเสริมการขายในช่วงที่ผ่านมา มีส่วนช่วยให้ตลาดรถยนต์กลับมาฟื้นตัวได้
Indicators
(%yoy)
2021
2022
Q
3 Q
4 ทั้งปี
Jan
Feb
YTD
ยอดขายรถยนต์นั่ง
-19.2
-17.7
-10.1
45.1
19.1
31.0
%mom_sa,
%qoq_sa
-4.9
10.0
-
13.1
0.2
-
6
ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ในเดือน ก.พ. 65มีจานวน 51,899คัน ขยายตัวร้อยละ 29.8 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน และขยายตัวร้อยละ 8.2 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังปรับผลทางฤดูกาล ตามปริมาณการจาหน่ายรถกระบะ 1 ตัน ที่ขยายตัวร้อยละ 33.0 และ 11.7ตามลาดับ
ยอดจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์เดือน ก.พ. 65 ขยายตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้า โดยมีปัจจัยหนุนจากการที่รัฐบาลอนุญาตให้จัดกิจกรรมด้านเศรษฐกิจมากขึ้น การช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจากโควิด 19 การรับประกันรายได้เกษตรกร การกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาลเช่นคนละครึ่ง เราเที่ยวด้วยกัน ฯลฯ การเปิดประเทศต้อนรับนักท่องเที่ยวจากต่างประเทศ และการส่งเสริมการขายของผู้จาหน่ายรถยนต์ ขณะที่ในเดือน มี.ค. การจัดกิจกรรมการแสดงสินค้ารถยนต์ Motor Show 20222022คาดว่าจะช่วยให้ยอดขายรถยนต์ยังเติบโตได้ดีต่อเนื่อง
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
การเบิกจ่ายงบประมาณรวมในเดือน ก.พ. ปีงบประมาณ 65 เบิกจ่ายได้ทั้งสิ้น 168,812 ล้านบาท
หดตัวร้อยละ -7.0 ต่อปี ทาให้ 5 เดือนแรกเบิกจ่ายได้ 1,429,194 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 1.6
คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 42.8
รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท .) ในเดือน ก.พ. ปีงบประมาณ 65
ได้ 153,322 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 11.9 ต่อปีทาให้ 5 เดือนแรกจัดเก็บได้ 911,661 ล้านบาท
ขยายตัวร้อยละ 7.0 ต่อปี
7
โดยรายได้ขยายตัวจากภาษีมูลค่าเพิ่มที่ขยายตัวร้อยละ 20.9 ต่อปี ซึ่งขยายตัวตามมูลค่าการค้าจากภาษีขาย
หักภาษีซื้อ (ภ.พ. 30) และภาษีมูลค่าเพิ่มจากการนาเข้าที่ขยายตัวดีตามมูลค่าการนาเข้า ภาษีเงินได้บุคคล
ธรรมดา ขยายตัวร้อยละ 29.4 ต่อปี และภาษีเงินได้นิติบุคคล ที่ขยายตัวร้อยละ 17.3 ต่อปี ทั้งนี้เป็นผลจาก
ฐานต่าในปีก่อนหน้าที่มีการขยายเวลาการชาระภาษีผ่านระบบอินเทอร์เน็ตทาให้รายได้บางส่วนเลื่อนไปชาระ
ในเดือนมีนาคม 2564
ที่มา : กรมสรรพากร คานวณโดย สศค.
โดย (1 ) รายจ่ายปีปัจ จุบัน เบิกจ่ายไ ด้
151,232 ล้านบาท หดตัวร้อยละ -8.5 ต่อปี
คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 42.5
ทั้งนี้ แบ่งออกเป็น (1.1) รายจ่ายประจา
121,458 ล้านบาท หดตัวร้อยละ -14.3
ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ
46.9 และ (1.2) รายจ่ายลงทุน 29,773
ล้า น บ ท ข ย ย ตัว ร้อ ย ล 2 6 . 6 ต่อ ปี
คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 24.3
(2) รายจ่ายปีก่อน เบิกจ่ายได้ 17,580
ล้านบาท ขยายตัวที่ร้อยละ 8.8 ต่อปี คิด
เป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 47.1 ต่อปี เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในเดือน ก.พ. ปีงบประมาณ 65พบว่า ดุลเงินงบประมาณขาดดุลจานวน -36,814ล้านบาท
โดยดุลนอกงบประมาณขาดดุล 4,177 ล้านบาท ดุลเงินสดก่อนกู้ขาดดุล -40,991 ล้านบาท ทั้งนี้ ในเดือนนี้ รัฐบาลมีการกู้เงิน 56,000ล้านบาท ทาให้ดุลเงินสุดหลังกู้เกินดุล 15,009ล้านบาท และจานวนเงินคงคลังปลายงวดอยู่ที่ 418,588ล้านบาท เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลจัดเก็บได้ ณ ระดับราคาคงที่ในเดือน ก.พ. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 27.7 ต่อปี และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ขยายตัวที่ร้อยละ 1.1
โดยเป็นขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 12 แบ่งเป็นภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการใช้จ่ายภายในประเทศ ขยายตัวในระดับสูงที่ร้อยละ 31.6ต่อปี จากจากการเร่งใช้จ่ายของผู้บริโภคจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐในช่วงปลายปี ประกอบกับการดาเนินธุรกิจและชีวิตของประชาชนกลับมาเข้าใกล้ภาวะปกติ ส่งผลให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น เช่นเดียวกันกับภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการนาเข้าที่ขยายตัวอย่างต่อเนื่องที่ร้อยละ 23.3ต่อปี ตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจและการนาเข้าของประเทศที่ขยายตัวได้ดี
9
Indicators
(%yoy)
2021
2022
Q3
Q4
ทั้งปี
Jan
Feb
YTD
ภาษีมูลค่าเพิ่ม ณ ระดับราคาคงที่
14.3
17.7
12.1
17.4
27.7
22.0
%mom_sa, %qoq_sa
2.0
2.2
-
-9.2
1.1
-
ที่มา กรมสรรพากร คานวณโดย สศค.
ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน ก.พ. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 5.2 ต่อปี และขยายตัวร้อยละ 4.1เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังปรับผลทางฤดูกาล
การจัดเก็บภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน ก.พ. 65 ขยายตัวติดต่อกันเป็นเดือนที่ 4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่กลับมาได้มากขึ้น การออกมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องของรัฐบาล และปัจจัยฐานต่าในปีก่อน อย่างไรก็ดี การระบาดของโควิดสายพันธุ์โอไมครอนที่พบผู้ติดเชื้อสูงขึ้น และสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซีย-ยูเครน เริ่มส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นของผู้บริโภค และอาจส่งผลให้ผู้บริโภคชะลอการจับจ่ายออกไปจนกว่าสถานการณ์ดังกล่าวคลี่คลาย เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
สหรัฐฯ
ยูโรโซน
ฮ่องกง
ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เบื้องต้น เดือน มี.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 57.0 จุด ลดลงจากเดือน ก.พ. 65ที่อยู่ที่ระดับ 58.2จุด เนื่องจากความขัดแย้งระหว่างยูเครน-รัสเซียได้ส่งผลให้ภาวะอุปทานตึงตัวแย่ลง
ดัชนีฯ PMIPMIภาคบริการ เบื้องต้น เดือน มี.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 54.8 จุด ลดลงจากเดือน ก.พ. 65ที่อยู่ที่ระดับ 55.5จุด อย่างไรก็ดี สูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ว่าจะอยู่ที่ระดับ 54.2จุด
ยอดขายบ้านใหม่ เดือน ก.พ. 6565หดตัวร้อยละ 2.02.0จากเดือนก่อนหน้า (ขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว)ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ 8.48.4จากเดือนก่อนหน้า (ขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) เป็นผลจากยอดขายบ้านใหม่ที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นในเขต NortheastNortheastและ MidwestMidwestเป็นสาคัญ
จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (13 1919มี.ค. 6565) อยู่ที่ระดับ 11.8787แสนรายปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ระดับ 2.152.15แสนราย ซึ่งเป็นระดับที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่เดือน ก.ย. 1212จากอุปสงค์ในตลาดแรงงานที่แข็งแกร่ง สอดคล้องกับจานวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการว่างงาน ระยะเฉลี่ย 4 สัปดาห์ 4 week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ปรับตัวลดลงอยู่ที่ 2.1212แสนราย
ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม (เบื้องต้น) เดือน มี.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 533.22จุดเพิ่มขึ้นจากเดือน ก.พ. 65 ที่ยู่ที่ระดับ 52.7.7จุด ขณะที่จานวนผู้ติดเชื้อโควิด 1919ปรับตัวลดลง ท่ามกลางปัญหาการขาดแคลนวัตถุดิบ โดยเฉพาะเซมิคอนดักเตอร์ และราคาพลังงานที่ปรับตัวเพิ่มสูงขึ้น
ดัชนีฯ PMIPMIภาคบริการ (เบื้องต้น) เดือน มี.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 48.7.7จุดเพิ่มขึ้นจากเดือน ก.พ. 65 ที่อยู่ที่ระดับ 44.244.2จุด และเป็นระดับที่สูงที่สุดในรอบ 33เดือน โดยรัฐบาลญี่ปุ่นได้ยกเลิกประกาศภาวะกึ่งฉุกเฉินทั่วประเทศ หลังมีจานวนผู้ติดเชื้อลดน้อยลง
ญี่ปุ่น
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ก.พ. 65 อยู่ที่ร้อยละ 1.61.6จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 1.21.2จากช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยมีสาเหตุหลักจากราคาผักสด เสื้อผ้าและรองเท้า และการขนส่ง ที่ปรับตัวเพิ่มสูงขึ้น เป็นสาคัญ และในระยะถัดไป แรงกดดันด้านเงินเฟ้อจากภายนอกคาดว่าจะยังคงอยู่ เนื่องจากราคาพลังงานและวัตถุดิบที่เพิ่มขึ้น ขณะที่สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด 19 ยังคงน่าเป็นกังวล
สิงคโปร์
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ก.พ. 65 อยู่ที่ร้อยละ 4.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 4.0จากช่วงเดียวกันปีก่อน เนื่องจากค่าบริการโรงพยาบาลและค่าขนส่งเป็นสาคัญ
ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ Tradingeconomics
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
11
ฟิลิปปินส์
ธนาคารกลางฟิลิปปินส์ประกาศคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายอยู่ที่ร้อยละ 2.0 ต่อปี
สหราชอาณาจักร
อัตราเงินเฟ้อ เดือน มี.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 6.2 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือน ก.พ. 65ที่อยู่ที่ร้อยละ 5.5เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน โดยอัตราเงินเฟ้อได้รับแรงหนุนจากราคาพลังงานและราคาอาหารที่เพิ่มสูงขึ้น
ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เบื้องต้น เดือน มี.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 55.5 จุด ลดลงจากเดือน ก.พ. 65ที่อยู่ที่ระดับ 58.0จุด เนื่องจากได้รับแรงกดดันจากภาวะอุปทานขาดแคลน และอัตราเงินเฟ้อที่เพิ่มสูงขึ้น
ดัชนีฯ PMIPMIภาคบริการ (เบื้องต้น) เดือน มี.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 61.0 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือน ก.พ. 65ที่อยู่ที่ระดับ 60.5จุด เนื่องจากได้รับแรงสนับสนุนจากการผ่อนคลายมาตรการควบคุมโควิด-19
ออสเตรเลีย
ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เบื้องต้น เดือน มี.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 57.3 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือน ก.พ. 65ที่อยู่ที่ระดับ 57.0จุด เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด-19ที่ปรับตัวดีขึ้น
ดัชนีฯ PMIPMIภาคบริการ เบื้องต้น เดือน มี.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 57.9 จุดเพิ่มขึ้นจากเดือน ก.พ. 65ที่อยู่ที่ระดับ 57.4จุด เนื่องจากมีการผ่อนคลายมาตรการจากัดการเดินทางเพิ่มขึ้น
ผลผลิคภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.พ. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 10.0110.01จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือน ก.พ. 65 ที่อยู่ที่ร้อยละ 8.398.39จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และเป็นระดับที่สูงที่สุดในรอบ 3 เดือน
ยอดค้าปลีก เดือน ก.พ. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 0.20.2จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 6.256.25จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และเป็นระดับที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่เดือน ก.ย. 64 เป็นผลจากยอดขายที่ปรับตัวลดลงในกลุ่มเสื้อผ้าและสิ่งทอ เครื่องใช้ในครัวเรือน และอุปกรณ์สารสนเทศและการสื่อสาร เป็นสาคัญ
อัตราการว่างงาน เดือน มี.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 3.673.67ของกาลังแรงงานรวม ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 3.703.70จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และเป็นระดับที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่เดือน เม.ย. 61 เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน
Foreign
E xchange 24
Mar 22 1w %chg
1m %chg
YTD %chg
Avg 2021 %chg
USD/THB
33.65
-
1.19 -
3.69 -
0.80 -
5.14
USD/JPY
121.63
-
2.49 -
6.12 -
5.65 -
10.71
EUR/USD
1.10
-
0.66 -
1.66 -
3.32 -
7.18
USD/MYR
4.23
-
0.88 -
0.74 -
1.34 -
1.97
USD/KRW
1,212.70
2.23
-
1.73 -
2.29 -
5.97
USD/SGD
1.36
-
0.02 -
0.47 -
0.52 -
1.05
USD/CNY
6.36
-
0.37 -
0.57 0.18
1.36
NEER
108.04
-
0.72 -
2.19 0.85
-
2.02
ค่าเงินสกุลต่างๆ เครื่องหมาย + คือแข็งค่าขึ้น และเครื่องหมาย -คืออ่อนค่าลง เมื่อเทียบกับค่าเงินดอลลาร์สหรัฐดัชนีค่าเงินบาท (NEER) แข็งค่าขึ้น (+) หรืออ่อนค่าลง (-) ในช่วงระยะเวลาดังกล่าวโดยคิดเป็นอัตราร้อยละ
ดัชนี SETSETปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนสอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่น ๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน เช่น Nikkei 225 ญี่ปุ่น)STI สิงคโปร์) และ DJIA ( สหรัฐอเมริกา) เป็นต้น เมื่อวันที่ 2424มี.ค. 655ดัชนีปิดที่ระดับ 1,6800.8989จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 2121-2424มี.ค. 655อยู่ที่ 73,078.14 ล้านบาทต่อวัน โดยนักลงทุนต่างชาติ นักลงทุนทั่วไปในประเทศ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ เป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่ นักลงทุนสถาบันในประเทศ เป็นผู้ขายสุทธิ ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 2121-2424มี.ค. 655นักลงทุนต่างชาติ ซื้อหลักทรัพย์สุทธิ 5,885.20ล้านบาท
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุโดยรวมปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 11ถึง 15 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 33ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 1.051.05เท่าของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 2121-2424มี.ค. 655กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ -16,430.62 ล้านบาทและหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 2424มี.ค. 6565กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ 30,876.82ล้านบาท
เงินบาทอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่ 2424มี.ค. 655เงินบาทปิดที่ 33.653.65บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงร้อยละ 11.1919จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน ยูโร ริงกิต ดอลลาร์สิงคโปร์ และหยวน ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่เงินสกุลวอนปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทอ่อนค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค ส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER)อ่อนค่าลงร้อยละ 0.72 จากสัปดาห์ก่อน
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง