รายงานภาวะเศรษฐกิจรายสัปดาห์ (Weekly) ณ 1 เม.ย. 65

ข่าวเศรษฐกิจ Tuesday April 5, 2022 15:07 —กระทรวงการคลัง

เศรษฐกิจไทย

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือน ก.พ. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.8 ต่อปี

? ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศเดือน ก.พ. 65

หดตัวที่ร้อยละ -3.7 ต่อปี

? หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน ก.พ. 65 อยู่ที่ร้อยละ 60.17 ของ GDP

เศรษฐกิจไทย

เศรษฐกิจต่างประเทศ

? GDP เวียดนาม ไตรมาสที่ 1 ปี 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 5.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน

? GDP สหราชอาณาจักร ไตรมาสที่ 4 ปี 64 ขยายตัวร้อยละ 6.6 เมื่อเทียบกับช่วง

เดียวกันปีก่อน

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือน ก.พ. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.8 ต่อปี และขยายตัวร้อยละ 0.9 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลของฤดูกาล

การขยายตัวของดัชนี MPIMPIในเดือน ก.พ. 64 เป็นผลมาจากการขยายตัวในกลุ่มอุตสาหกรรมที่สาคัญ ได้แก่ อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม อุตสาหกรรมผลิตมอลต์และสุราที่ทาจากข้าวมอลต์อุตสาหกรรมชิ้นส่วนและแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมยานยนต์ และ อุตสาหกรรมเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย ที่ขยายตัวร้อยละ 15.9 40.9 6.2 2.2 และ 23.3 ต่อปี ตามลาดับ* ขณะที่อุตสาหกรรมที่หดตัว ได้แก่ อุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง อุตสาหกรรมจักรยานยนต์ อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้า ขั้นมูลฐาน อุตสาหกรรมเยื่อกระดาษ กระดาษ และกระดาษแข็ง และ อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์คอนกรีต ปูนซีเมนต์ และปูนปลาสเตอร์ที่หดตัว ร้อยละ -11.3 -27.5 -8.1 -15.7 และ -4.0 ต่อปี ตามลาดับ* ((*เรียงตามสัดส่วนใน MPI)

ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศเดือน ก.พ. 65 หดตัวที่ ร้อยละ -3.7 ต่อปี แต่ขยายตัวร้อยละ 10.3เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังปรับผลทางฤดูกาล

ปริมาณการจาหน่ายเหล็กในประเทศเดือน ก.พ. 65 หดตัวชะลอลงจากเดือนก่อน หลังปริมาณจาหน่ายเหล็กที่ใช้ในภาคการก่อสร้างและเหล็กที่ใช้ในภาคอุตสาหกรรมปรับตัวดีขึ้น อาทิ เหล็กเส้นข้ออ้อย และเหล็กโครงสร้างรูปพรรณ ชนิดรีดร้อน ขยายตัวร้อยละ 4.2 และ 1.6 ต่อปี ตามลาดับ จากที่หดตัวร้อยละ -10.4 และ -36.4ในเดือนก่อนหน้า โดยมีปัจจัยจากสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ที่แม้จะยังคงมีความไม่แน่นอนสูง แต่ก็กระทบกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจไม่เท่ากับการรระบาดช่วงก่อนหน้า อย่างไรก็ตาม สถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัสเซีย-ยูเครน ส่งผลให้ราคาพลังงานรวมถึงสินค้าโภคภัณฑ์อื่นๆ ปรับตัวสูงขึ้น กระทบต่อต้นทุน การผลิตของผู้ประกอบการและความต้องการสินค้าของผู้บริโภคให้ชะลอลงในระยะต่อไป

เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย

7

หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน ก.พ. 65 มีจานวนทั้งสิ้น 9,828,268 ล้านบาท หรือคิดเป็น ร้อยละ 60.17 ของ GDPGDPและเมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า พบว่า หนี้สาธารณะคงค้างเพิ่มขึ้นสุทธิ 93,848ล้านบาท

ทั้งนี้ สถานะหนี้สาธารณะของไทยถือว่ามีความมั่นคง สะท้อนได้จากสัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDPGDPยังอยู่ในระดับต่ากว่ากรอบวินัยในการบริหารหนี้สาธารณะที่ตั้งไว้ไม่เกินร้อยละ 770 ของ GDPGDPและหนี้สาธารณะส่วนใหญ่เป็นหนี้ระยะยาว โดยแบ่งตามอายุคงเหลือคิดเป็นร้อยละ 85.75ของยอดหนี้สาธารณะและเป็นหนี้ในประเทศคิดเป็นร้อยละ 98.2222ของยอดหนี้สาธารณะ

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

สหรัฐฯ

ดัชนีราคากลางบ้าน เดือน ม.ค. 6565ขยายตัวร้อยละ 1.61.6จากเดือนก่อนหน้า (ขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว)เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 1.31.3จากเดือนก่อนหน้า (ขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) เป็นผลจากราคาบ้านที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นในภาคตะวันตก และตะวันออกเฉียงเหนือเขต NortheastNortheastและ MidwestMidwestเป็นสาคัญ

จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (20 2626มี.ค. 6565) อยู่ที่ระดับ 2.022.02แสนรายปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ระดับ 1.871.87แสนราย แต่ยังเป็นระดับที่ ต่ากว่าค่าเฉลี่ยในช่วงก่อนเกิดการแพร่ระบาดที่ 2.152.15แสนราย ขณะที่จานวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการว่างงานระยะเฉลี่ย 4 สัปดาห์ 4 week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อนมาอยู่ที่ 2.0909แสนราย

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม (NBSNBS) เดือน มี.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 4949.66จุดลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 50.20.2จุด และเป็นระดับที่ต่าที่สุดในรอบ 55เดือน สะท้อนการหดตัวในภาคการผลิต ซึ่งเป็นผลจากการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด 1919ในหลายเมืองใหญ่ของจีนทาให้ต้องกลับมาใช้มาตรการล็อกดาวน์อีกครั้ง

ดัชนีฯ PMIPMIภาคบริการ (NBSNBS) เดือน มี.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 48.4.4จุดลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 51.651.6จุด และเป็นระดับที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่เดือน ก.ย. 6464ท่ามกลางแรงกดดันจากมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดที่เข้มงวดในหลายพื้นที่

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม (CaixinCaixin) เดือน มี.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 4848.11จุดลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ยู่ที่ระดับ 50.40.4จุด และเป็นระดับที่ต่าที่สุดในรอบ 2525เดือน โดยเป็นผลจากมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดที่เข้มงวด ส่งผลให้ผลผลิต ยอดคาสั่งซื้อใหม่ และยอดคาสั่งซื้อใหม่เพื่อการส่งออกปรับตัวลดลงมาก ส่วนหนึ่งเป็นผลจากปัญหาด้านการขนส่งเนื่องจากวิกฤตในยูเครน

จีน

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ Tradingeconomics รวมรวบโดย สศค.

ยูโรโซน

ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน มี.ค. 65 อยู่ที่ระดับ -18.7 จุด ลดลงจากเดือน ก.พ. 65ที่อยู่ที่ระดับ -8.8จุด เนื่องจากครัวเรือนมีความกังวลเกี่ยวกับความขัดแย้งระหว่างยูเครนและรัสเซียจะส่งผลต่อสถานการณ์เศรษฐกิจ

อัตราการว่างงาน เดือน ก.พ. 65 อยู่ที่ร้อยละ 6.8 ของกาลังแรงงานรวมลดลงจากเดือน ม.ค. 65 ที่อยู่ร้อยละ 6.9 ของกาลังแรงงานรวม อย่างไรก็ตาม อัตราการว่างงานเดือน ก.พ. 65สูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ว่าจะอยู่ที่ร้อยละ 6.7ของกาลังแรงงานรวม เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

11

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ Tradingeconomics รวมรวบโดย สศค.

ฮ่องกง

มูลค่าการส่งออก เดือน ก.พ. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 0.90.9จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 118.44จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และเป็นระดับที่ ต่าที่สุดในรอบ 1616เดือน อย่างไรก็ดี เมื่อขจัดความผันผวนจากช่วงเทศกาลวันตรุษจีนด้วย การนาเข้ามูลเดือน ม.ค ก.พ. 6565มารวมกันจะพบว่า มูลค่าการส่งออกยังขยายตัวได้ในระดับเลข 22หลัก เมื่อเทียบจากช่วงเดียวกันของปีก่อน

มูลค่าการนาเข้า เดือน ก.พ. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 6.26.2จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 9.69.6จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และเป็นระดับที่ต่าที่สุดในรอบ 15 เดือน

ดุลการค้า เดือน ก.พ. 65 กลับมาขาดดุลที่ 3.23.2หมื่นล้านดอลลาร์ฮ่องกง ขณะที่เดือน ม.ค. 65 เกินดุลที่ 6.76.7พันล้านดอลลาร์ฮ่องกง

ยอดค้าปลีก เดือน ก.พ. 65 หดตัวที่ร้อยละ 14.614.6จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขณะที่เดือนก่อนหน้าขยายตัวที่ร้อยละ 4.04.0จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และเป็นระดับที่ต่าที่สุดนับตั้งแต่เดือน ส.ค. 6363ซึ่งเป็นผลจากมาตรการเว้นระยะห่างทางสังคมที่เข้มงวดขึ้น

เวียดนาม

GDP

GDPไตรมาสที่ 1 ปี 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 5.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 5.2จากช่วงเดียวกันปีก่อน

มูลค่าการส่งออก เดือน มี.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 14.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 16.0จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

มูลค่าการนาเข้า เดือน มี.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 14.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 22.9จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

ดุลการค้า เดือน มี.ค. 65 เกินดุลที่ 1.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขาดดุลที่ 2.0พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน มี.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 8.5 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 9.2จากช่วงเดียวกันปีก่อน เป็นผลจากการผลผลิตไฟฟ้าและแก๊สเป็นสาคัญ

ยอดค้าปลีก เดือน มี.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 9.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อนปรับตัวดีขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 3.1จากช่วงเดียวกันปีก่อน เนื่องจากยอดขายจากการบริการอื่น ๆ เป็นสาคัญ

อัตราเงินเฟ้อ เดือน มี.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 2.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อนเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 1.4จากช่วงเดียวกันปีก่อน เนื่องจากราคาบ้านและวัสดุก่อสร้างเป็นสาคัญ

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน มี.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 51.7 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 54.3จุด

เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ

11

อินโดนีเซีย

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน มี.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 51.3 จุด เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 51.2จุด

อัตราเงินเฟ้อ เดือน มี.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 2.6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.1จากช่วงเดียวกันปีก่อน เนื่องจากราคาอาหาร เครื่องดื่มและยาสูบเป็นสาคัญ

มาเลเซีย

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน มี.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 49.6 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 50.9จุด

ดัชนีฯ PMIPMIภาคอุตสาหกรรม เดือน มี.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 53.2 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 52.8จุด

ฟิลิปปินส์

ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ Tradingeconomics รวมรวบโดย สศค.

เกาหลีใต้

ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.พ. 6565ขยายตัวที่ร้อยละ 6.56.5จากช่วงเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 4.24.2จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

มูลค่าการส่งออก เดือน ก.พ. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 18.218.2จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 2020.66จากช่วงเดียวกันของปีก่อน

มูลค่าการนาเข้า เดือน ก.พ. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 27.927.9จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 25.225.2จากช่วงเดียวกันของปีก่อน สะท้อนอุปสงค์ในประเทศที่ยังแข็งแกร่ง หลังมีการฉีดวัคซีนเพิ่มขึ้นในวงกว้าง ท่ามกลางความเสี่ยงด้าน ภูมิรัฐศาสตร์ที่เพิ่มขึ้น

ดุลการค้า เดือน ก.พ. 65 กลับมาขาดดุลที่ 0.140.14พันล้านดอลลาร์สหรัฐ หลังเกินดุลในเดือน ม.ค. 65 ที่ 0.830.83พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

สหราชอาณาจักร

GDP

GDPไตรมาสที่ 4 ปี 64 ขยายตัวร้อยละ 6.6 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอตัวลงจากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 6.9 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน อย่างไรก็ดี ขยายตัวมากกว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 6.5เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน

Foreign

E xchange 31

Mar 22 1w %chg

1m %chg

YTD %chg

Avg 2021 %chg

USD/THB

33.31

1.02

-

2.35 0.02

-

4.07

USD/JPY

121.64

-

0.01 -

5.11 -

5.10 -

10.72

EUR/USD

1.11

1.12

0.23

-

1.58 -

6.14

USD/MYR

4.20

0.54

-

0.32 -

0.54 -

1.41

USD/KRW

1,210.80

0.16

-

0.48 -

1.68 -

5.80

USD/SGD

1.35

0.34

0.21

0.10

-

0.70

USD/CNY

6.35

0.25

-

0.74 0.49

1.60

NEER

108.90

0.78

-

1.31 1.19

-

1.24

ค่าเงินสกุลต่างๆ เครื่องหมาย + คือแข็งค่าขึ้น และเครื่องหมาย -คืออ่อนค่าลง เมื่อเทียบกับค่าเงินดอลลาร์สหรัฐดัชนีค่าเงินบาท (NEER) แข็งค่าขึ้น (+) หรืออ่อนค่าลง (-) ในช่วงระยะเวลาดังกล่าวโดยคิดเป็นอัตราร้อยละ

ดัชนี SETSETปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนสอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่น ๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน เช่น Nikkei 225 ญี่ปุ่น) HSI ( ฮ่องกง) และ STI ( สิงคโปร์) เป็นต้น เมื่อวันที่ 3131มี.ค. 655ดัชนีปิดที่ระดับ 1,695.24 จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 2828-3131มี.ค. 655อยู่ที่ 75,795.96ล้านบาทต่อวัน โดยนักลงทุนต่างชาติ เป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่ นักลงทุนทั่วไปในประเทศ นักลงทุนสถาบันในประเทศ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ เป็นผู้ขายสุทธิ ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 2828-3131มี.ค. 655นักลงทุนต่างชาติ ซื้อหลักทรัพย์สุทธิ 10,563.07ล้านบาท

อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุโดยรวมปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 11ถึง 20 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 3131ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 1.431.43เท่าของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 2828-3131มี.ค. 655กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ 1,044.15 ล้านบาทและหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 3131มี.ค. 6565กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ 23,366.69ล้านบาท

เงินบาทอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่ 3131มี.ค. 655เงินบาทปิดที่ 33.313.31บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ แข็งค่าขึ้นร้อยละ 1.021.02จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลยูโร ริงกิต วอน ดอลลาร์สิงคโปร์ และหยวน ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่เงินสกุลเยนปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทแข็งค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค ส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) แข็งค่าขึ้นร้อยละ 0.78 จากสัปดาห์ก่อน

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง


เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ