เศรษฐกิจไทย
ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรมในเดือน เม.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.7 เมื่อเทียบกับช่วง
เดียวกันของปีก่อน เช่นเดียวกับดัชนีราคาสินค้าเกษตรกรรม ขยายตัวที่ร้อยละ 10.1 เมื่อเทียบ
กับช่วงเดียวกันของปีก่อน
? จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาไทยในเดือน เม.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 3,339.4
ต่อปี
? ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งในเดือน เม.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 20.6 เมื่อเทียบกับช่วง
เดียวกันของปีก่อน
? ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ในเดือน เม.ย. 65 ขยายตัวร้อยละ 4.4 เมื่อเทียบกับ
ช่วงเดียวกันของปีก่อน
? มูลค่าการส่งออกในเดือน เม.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 9.9 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี
ก่อน เช่นเดียวกับมูลค่าการนาเข้าในเดือน เม.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 21.5 เมื่อเทียบช่วง
เดียวกันปีก่อน
? การเบิกจ่ายงบประมาณรวมในเดือน เม.ย. ปีงบประมาณ 65 หดตัวที่ร้อยละ -12.0 ต่อปี
? รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท.) ในเดือน เม.ย. ปีงบประมาณ 65 หดตัว
ร้อยละ -6.1 ต่อปี
? ฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในเดือน เม.ย. ปีงบประมาณ 65 ขาดดุล
จานวน -9,972 ล้านบาท
? ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลจัดเก็บได้ ณ ระดับราคาคงที่ในเดือน เม.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ
1.6 ต่อปี
? ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน เม.ย. 65 หดตัวที่ร้อยละ -6.5 ต่อปี
เศรษฐกิจไทย
เศรษฐกิจต่างประเทศ
? GDP สิงคโปร์ ไตรมาสที่ 1 ปี 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 3.7 จากช่วงเดียวกันปีก่อน
ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรม
ในเดือน เม.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.7
เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
หรือคิดเป็นการขยายตัวร้อยละ 4.6
เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า
หลังขจัดผลทางฤดูกาล
หากพิจารณารายหมวดผลผลิตสินค้าเกษตรในเดือน
เม.ย. 65 พบว่า ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตรกรรมขยายตัว
ในหมวดพืชผลสาคัญและหมวดประมงที่ร้อยละ 5.7 และ
3.1 ตามลาดับ ขณะที่ผลผลิตในหมวดปศุสัตว์หดตัว
ที่ร้อยละ -2.8 โดยสินค้าเกษตรสาคัญที่มีผลผลิตเพิ่มขึ้น
ได้แก่ ข้าวเปลือก ยางพารา กลุ่มไม้ผล ไก่ ไข่ไก่ และกุ้งขาว
แวนนาไม ขณะที่สินค้าสาคัญที่มีผลผลิตลดลง ได้แก่
ข้าวโพด มันสาปะหลัง ปาล์มน้ามัน และสุกร
ดัชนีราคาสินค้าเกษตรกรรม
ในเดือน เม.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 10.1
เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
หรือคิดเป็นการขยายตัวร้อยละ 0.3
เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้า
หลังขจัดผลทางฤดูกาล
หากพิจารณารายหมวดราคาสินค้าเกษตรในเดือน เม.ย.
65 พบว่า ดัชนีราคาสินค้าเกษตรขยายตัวในทุกหมวด
สินค้า โดยหมวดพืชผลสาคัญ หมวดปศุสัตว์ และหมวด
ประมงขยายตัวที่ร้อยละ 8.6 16.0 และ 1.6 ตามลาดับ
โดยสินค้าเกษตรสาคัญที่ราคาเพิ่มขึ้น ได้แก่ ยางพารา
มันสาปะหลัง ข้าวโพด ปาล์มน้ามัน หมวดปศุสัตว์ และ
กุ้ง ข ว แ ว น น ไ ม ขณะ ที่สิน ค้า ที่ร ค ล ด ล ง ไ ด้แ ก่
ข้าวเปลือก และกลุ่มไม้ผล
Indicators
(%yoy)
2021 2022
Q4 ทั้งปี Q1 Mar Apr YTD
ดัชนีผลผลิตสินค้าเกษตร -1.5 0.9 4.7 5.3 2.7 4.3
%mom_sa, %qoq_sa 0.8 - -2.1 -7.2 4.6 -
ดัชนีราคาสินค้าเกษตร -4.3 3.0 4.7 8.8 10.1 6.0
%mom_sa, %qoq_sa 4.5 - 9.4 10.2 0.3 -
3
ที่มา : สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
รายได้เกษตรที่แท้จริง
( หัก ผ ล ข อ ง เ งิน เ ฟ้อ
ชุด ช น บ ท ) ใ น เ ดือ น
เ ม . ย . 6 5 ข ย ย ตัว
ที่ร้อ ย ล 8 . 0 จ ก
ปาล์มน้ามัน ยางพารา
ข้า วเ ปลือก ข้าวโพด
เลี้ยงสัตว์ มันสาปะหลัง
ห ม ว ด ป ศุสัต ว์ แ ล
หมวดประมงเดือน เม.ย. 65จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้า อย่างมีนัยสาคัญ ขณะที่การท่องเที่ยวภายในประเทศมีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นในช่วงเทศกาลสงกรานต์ และยังได้อานิสงค์ของโครงการเราเที่ยวด้วยกันและทัวร์เที่ยวไทย ในเดือน เม.ย. 65นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเดินทางเข้าประเทศไทย จานวน 293,350 คน โดยส่วนใหญ่เป็นนักท่องเที่ยวจากประเทศสหราชอาณาจักร อินเดีย เยอรมนี สิงคโปร์ ออสเตรเลีย และสหรัฐอเมริกา ตามลาดับ เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนพบว่า จานวนนักท่องเที่ยวขยายตัวสูงที่ร้อยละ 3,339.4339.4ต่อปี ส่วนหนึ่งเป็นผลจากปัจจัยฐานต่า อย่างไรก็ตาม เมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแล้วพบว่ายังขยายตัวได้ที่ร้อยละ 66.3 สะท้อนถึงการขยายตัวต่อเนื่องของการท่องเที่ยวของชาวต่างชาติ ทั้งนี้ จานวนนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าเป็นผลมาจากการผ่อนคลายมาตรการเดินทางเข้าประเทศ โดยที่ ศบค. ได้มีการยกเลิกการตรวจเชื้อโควิด-19 ก่อนเดินทางเข้าราชอาณาจักรด้วยวิธี RT PCRPCRสาหรับผู้ที่ได้รับวัคซีนครบ 3 เข็มตามเกณฑ์ขององค์กรอนามัยโลกแล้ว และยังมีการลดขั้นต้นตอนการยื่นเอกสารสาหรับการลงทะเบียน Thailand PassPassซึ่งช่วยเพิ่มความสะดวกให้นักท่องเที่ยวที่จะเดินทางเข้ามาในประเทศ
การท่องเที่ยวของชาวไทย สะท้อนจากจานวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยในเดือน เม.ย. 65มีจานวน 16.7ล้านคน โดยเป็นจานวนที่เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนและคิดเป็นการขยายตัวในอัตราชะลอที่ร้อยละ 138.9ต่อปี และเมื่อขจัดผลทางฤดูกาลแล้วพบว่า ขยายตัวได้ที่ร้อยละ 6.3เนื่องจากส่วนหนึ่งได้รับปัจจัยสนับสนุนจากโครงการ ?เราเที่ยวด้วยกัน? และ ?ทัวร์เที่ยวไทย? ที่ได้รับความสนใจเป็นอย่างมากในช่วงสงกรานต์ สะท้อนว่า การท่องเที่ยวภายในประเทศยังคงขยายตัวได้
ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์นั่งในเดือน เม.ย. 65 มีจานวน 20,492 คัน ขยายตัวที่ร้อยละ
20.6 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แต่เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล
หดตัวที่ร้อยละ -9.2
โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากการผ่อนคลายมาตรการต่าง ๆ ส่งผลให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจปรับตัวดีขึ้น
ประกอบกับกิจกรรมส่งเสริมการขายในงานบางกอก อินเตอร์เนชั่นแนล มอเตอร์โชว์ ครั้งที่ 43 ที่ช่วยรักษา
ระดับการฟื้นตัวของตลาดรถยนต์ภายในประเทศ ขณะที่ปัจจัยที่น่ากังวลยังคงเป็นการปรับตัวเพิ่มขึ้นของราคา
น้ามัน และการขาดแคลนชิ้นส่วนและเซมิคอนดักเตอร์ในภาคการผลิต
ปริมาณการจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์ในเดือน เม.ย. 65 มีจานวน 42,935 คัน ขยายตัว
ร้อยละ 4.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน แต่หดตัวร้อยละ -6.0 เมื่อเทียบกับเดือนก่อน
หน้าหลังปรับผลทางฤดูกาล ตามปริมาณการจาหน่ายรถกระบะ 1 ตัน ที่ขยายตัวร้อยละ 3.1 และ
หดตัวร้อยละ -7.5 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังปรับผลทางฤดูกาล
ยอดจาหน่ายรถยนต์เชิงพาณิชย์เดือน เม .ย. 65 ขยายตัวชะลอลงจากเดือนโดยมีปัจจัยสนับสนุนจาก
การผ่อนคลายการล็อกดาวน์และอนุญาตให้จัดงานสงกรานต์ในวงจากัด การส่งมอบรถยนต์ให้ผู้จองรถยนต์
ในงาน Motor show 2022 จานวนนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้นจากการผ่อนคลายการเปิดประเทศ อย่างไรก็ดี
ความกังวลเกี่ยวกับราคาน้ามันที่เพิ่มขึ้นมากและค่าเงินบาทที่อ่อนค่ามากในรอบหลายปีจะทาให้ต้นทุนสินค้า
หลายอย่างเพิ่มขึ้นรวมทั้งหนี้ครัวเรือนที่อยู่ในระดับสูง อาจจะทาให้อานาจซื้อของประชาชนลดลง มูลค่าการส่งออกในเดือน เม.ย. 65 มีมูลค่าอยู่ที่ 23,521.4 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือขยายตัวใน
อัตราชะลอลงอยู่ที่ร้อยละ 9.9 เมื่อเทียบรายปีโดยเป็นการขยายตัวต่อเนื่อง 14 เดือนติดต่อกัน
การส่งออกของไทยหากหักรายการสินค้าเกี่ยวเนื่องน้ามันทองคาและยุทธปัจจัยขยายตัวที่ร้อยละ 6.9 ทั้งนี้ การ
ส่งออกที่ขยายตัวมาจากสินค้าสาคัญ อาทิ ผลิตภัณฑ์อลูมิเนียม อัญมณีและเครื่องประดับ (ไม่รวมทองคา)
เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ แผงวงจรไฟฟ้า น้าตาลทราย อาหารสัตว์เลี้ยง อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป
ผลิตภัณฑ์มันสาปะหลัง ข้าว และกลุ่มผลไม้สด เช่น เงาะสด มังคุดสด มะม่วงสด เป็นต้นในส่วนมิติตลาดคู่ค้า
สาคัญส่วนใหญ่ขยายตัวต่อเนื่อง อาทิ ตลาดสหรัฐฯ กลุ่มอาเซียน 5 กลุ่มเอเชียใต้ สวิตเซอร์แลนด์ เกาหลีใต้
ไต้หวัน และฮ่องกง เป็นสาคัญ ทั้งนี้ การส่งออกไทยในช่วง 4 เดือนแรกปี 65 ขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 13.7 ต่อปี
มูลค่าการนาเข้าในเดือน เม.ย. 65 มีมูลค่า 25,429.8 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขยายตัวที่ร้อยละ
21.5 เมื่อเทียบช่วงเดียวกันปีก่อน
การนาเข้าของไทยในเดือนดังกล่าวขยายตัวดีจาก
กลุ่มสินค้าเชื้อเพลิง สินค้าทุน สินค้าวัตถุดิบและกึ่ง
สาเร็จรูป และสินค้าอุปโภคบริโภค เป็นหลัก อาทิ
น้ามันดิบ ก๊าซธรรมชาติปิโตรเลียม ผลิตภัณฑ์โลหะ
เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ เครื่องมือเครื่องใช้
เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ การแพทย์ เคมีภัณฑ์ ทองคา
เ ห ล็ก เ ห ล็ก ก ล้า แ ล ผ ลิต ภัณฑ์ อุป ก ร ณ์แ ล
ส่วนประกอบเครื่องใช้ไฟฟ้าฯ ผลิตภัณฑ์เวชกรรม
และเภสัชกรรม เป็นต้น ด้านดุลการค้าในเดือน
ดังกล่าว ขาดดุลมูลค่า 1.9 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
โดยในช่วง 4 เดือนแรกปี 65 ดุลการค้าสะสมของ
ไทยขาดดุลอยู่ที่ 2.9 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ การเบิกจ่ายงบประมาณรวมในเดือน เม.ย. ปีงบประมาณ 65 เบิกจ่ายได้ทั้งสิ้น 203,512 ล้านบาท
หดตัวร้อยละ -12.0 ต่อปี ทาให้ 7 เดือนแรกเบิกจ่ายได้ 1,926,582 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ
0.5 คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ 57.8
รัฐบาลจัดเก็บรายได้สุทธิ (หลังหักจัดสรรให้ อปท.) ในเดือน เม.ย. ปีงบประมาณ 65
ได้ 188,080 ล้านบาท หดตัวร้อยละ -6.1 ต่อปี ทาให้ 7 เดือนแรกจัดเก็บได้ 1,276,881 ล้านบาท
ขยายตัวร้อยละ 4.5 ต่อปี
7
โดยรายได้รัฐบาลในเดือน เม.ย. 65 หดตัวจากภาษีสรรพสามิตที่หดตัวร้อยละ -12.0 ต่อปีเนื่องจากการลด
อัตราภาษีสรรพสามิตสาหรับน้ามันดีเซลเป็นหลัก เงินนาส่งรัฐวิสาหกิจ หดตัวร้อยละ -12.1 ต่อปี เนื่องจาก
กฟผ. นาส่งรายได้ต่ากว่าปีก่อน และภาษีเงินได้นิติบุคคลที่หดตัวร้อยละ -10.8 ต่อปี เนื่องจากภาษีจาก
ค่าบริการและจาหน่ายกาไร (ภ.ง.ด. 54) ต่ากว่าปีก่อนเป็นสาคัญ
ที่มา : กรมสรรพากร คานวณโดย สศค.
โดย (1) รายจ่ายปีปัจจุบัน เบิกจ่ายได้
193,984 ล้านบาท หดตัวร้อยละ -12.9
ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ
57.5 ทั้งนี้ แบ่งออกเป็น (1.1) รายจ่าย
ประจา 162,320 ล้านบาท หดตัวร้อยละ
-13.1 ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่
ร้อยละ 62.7 และ (1.2) รายจ่ายลงทุน
31,664 ล้านบาท หดตัวร้อยละ -12.2
ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ
36 . 3 ( 2 ) ร ย จ่าย ปีก่อ น เ บิก จ่า ย ไ ด้
9,528 ล้านบาท ขยายตัวที่ร้อยละ 14.8
ต่อปี คิดเป็นอัตราเบิกจ่ายสะสมที่ร้อยละ
60.5 ต่อปีฐานะการคลังของรัฐบาลตามระบบกระแสเงินสดในเดือน เม .ย. ปีงบประมาณ 65 พบว่า
ดุลเงินงบประมาณขาดดุลจานวน -9,972 ล้านบาท
โดยดุลนอกงบประมาณขาดดุล -6,529 ล้านบาท ดุลเงินสดก่อนกู้ขาดดุล -16,501 ล้านบาท ทั้งนี้ ในเดือนนี้
รัฐบาลมีการกู้เงิน 54,477 ล้านบาท ทาให้ดุลเงินสดหลังกู้เกินดุล 37,976 ล้านบาท และจานวนเงินคงคลัง
ปลายงวดอยู่ที่ 398,831 ล้านบาท ภาษีมูลค่าเพิ่มที่รัฐบาลจัดเก็บได้ ณ ระดับราคาคงที่ในเดือน เม .ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ
1.6 ต่อปี และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ขยายตัวที่ร้อยละ 0.9
โดยเป็นขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 14 นับตั้งแต่เดือน มี.ค. 64 แบ่งเป็นภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการใช้จ่าย
ภายในประเทศ หดตัวที่ร้อยละ -12.3 ต่อปี โดยเป็นผลจากมาตรการรักษาระดับการบริโภคของประเทศที่เริ่ม
สิ้นสุดลง ประกอบกับปัญหาค่าครองชีพและราคาสินค้าพลังงานที่เพิ่มสูงขึ้น นอกจากนี้ สถานการณ์การแพร่
ระบาดของเชื้อไวรัสสายพันธุ์โอมิครอน ส่งผลให้การบริโภคภายในประเทศยังฟื้นตัวได้ไม่เต็มที่ ขณะที่
ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บจากการนาเข้ายังคงขยายตัวอย่างต่อเนื่องที่ร้อยละ 26.0 ต่อปี ตามการฟื้นตัวของ
เศรษฐกิจและทิศทางการนาเข้าของประเทศที่ขยายตัวได้ดี ภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน เม .ย. 65 หดตัวที่ร้อยละ -6.5 ต่อปี
แต่ขยายตัวร้อยละ 7.3 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังปรับผลทางฤดูกาล
การจัดเก็บภาษีจากการทาธุรกรรมอสังหาริมทรัพย์ในเดือน เม.ย. 65 หดตัวเป็นเดือนที่ 2 ติดต่อกัน แต่หด
ตัวในอัตราที่ชะลอลง โดยมีปัจจัยสาคัญจากปัญหาเงินเฟ้อที่อยู่ในระดับสูง กระทบต่อความเชื่อมั่นผู้บริโภคทั้ง
ด้านรายได้ที่อาจลดลงและภาระค่าครองชีพที่สูงขึ้น ประกอบกับต้นทุนการก่อสร้างที่เพิ่มสูงขึ้นตามราคาวัสดุ
ก่อสร้างหลายชนิด เช่น เหล็ก ปูนซีเมนต์ คอนกรีต อุปกรณ์ไฟฟ้าและประปา ส่งผลให้ผู้ประกอบการชะลอการ
ก่อสร้างโครงการใหม่บางส่วน ยอดขายบ้านใหม่ เดือน เม.ย. 65 หดตัวที่ร้อยละ -16.6 จากเดือนก่อนหน้า (ขจัดผลทาง
ฤดูกาลแล้ว) หดตัวมากขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -10.5 เป็นผลจากยอดขายบ้าน
ใหม่ที่หดตัวลงในทุกภูมิภาค เนื่องจากต้นทุนการก่อสร้างและการจานองที่สูงขึ้นส่งผลต่อ
ความสามารถในการจ่ายของผู้ซื้อ
ยอดสร้างบ้านใหม่ เดือน เม.ย. 65 หดตัวที่ร้อยละ -0.2 จากเดือนก่อนหน้า (ขจัดผลทาง
ฤดูกาลแล้ว) หดตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -2.8 เป็นผลจากยอดสร้าง
ทาวน์โฮมและคอนโดมิเนียมที่ปรับตัวดีขึ้น ขณะที่ยอดสร้างบ้านเดี่ยวหดตัวเพิ่มขึ้น
ยอดใบอนุญาตก่อสร้างบ้านใหม่ เดือน เม.ย. 65 หดตัวที่ร้อยละ -3.0 จากเดือนก่อนหน้า
(ขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว) หลังจากเดือนก่อนหน้าขยายตัวที่ 1.2 เป็นผลจากยอดใบอนุญาต
ก่อสร้างบ้านบ้านเดี่ยวและคอนโดมิเนียมใหม่ที่ปรับหดตัวลง
จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (15-21 พ.ค. 65) อยู่ที่ระดับ 2.10
แสนราย ปรับตัวลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ระดับ 2.18 แสนราย ซึ่งอยู่ในระดับใกล้เคียงกับ
ค่าเฉลี่ยต่อสัปดาห์ในช่วงก่อนเกิดการแพร่ระบาดที่ 2.15 แสนราย ขณะที่จานวนผู้ยื่นขอรับ
สวัสดิการว่างงานระยะเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (4 week moving average) ซึ่งขจัดความผันผวน
รายสัปดาห์แล้ว ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนมาอยู่ที่ 2.07 แสนราย
ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ Tradingeconomics รวมรวบโดย สศค.
ยูโรโซน
ดัชนีฯ PMI ภาคอุตสาหกรรม (เบื้องต้น) เดือน พ.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 54.4 จุด ลดลงจากเดือน
เม.ย. 65 ที่อยู่ที่ระดับ 55.5 จุด และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ว่าจะอยู่ที่ระดับ 54.9 จุด
ดัชนีฯ PMI ภาคบริการ (เบื้องต้น) เดือน พ.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 56.3 จุด ลดลงจากเดือน
เม.ย. 65 ที่อยู่ที่ระดับ 57.7 จุด และต่ากว่าที่ตลาดคาดการณ์ไว้ว่าจะอยู่ที่ระดับ 57.5 จุด
ธนาคารกลางอินโดนีเซียประกาศคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ร้อยละ 3.5 ต่อปีGDP ไตรมาสที่ 1 ปี 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 3.7 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจากไตรมาสก่อน
หน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 6.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน หรือคิดเป็นการขยายตัวที่ร้อยละ 0.7
เมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาลแล้ว)
ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม เดือน เม .ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 6.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน
เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 5.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เป็นผลจากการผลิต
อุปกรณ์วิศวกรรมความแม่นยาเป็นสาคัญ
อัตราเงินเฟ้อ เดือน เม.ย. 65 อยู่ที่ร้อยละ 5.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน คงที่จากเดือนก่อนหน้า อัตราเงินเฟ้อ เดือน เม.ย. 65 อยู่ที่ร้อยละ 1.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ลดลงจากเดือน
ก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 1.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และเป็นระดับที่ต่าที่สุดในรอบ 3 เดือน
มูลค่าการส่งออก เดือน เม.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 1.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หลังจาก
หดตัวในเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ -8.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
มูลค่าการนาเข้า เดือน เม.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หลังจาก
หดตัวในเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ -6.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ดุลการค้า เดือน เม.ย. 65 ขาดดุลที่ -36.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลลดลงจากเดือน
ก่อนหน้าที่ขาดดุลที่ -37.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ อัตราเงินเฟ้อ เดือน เม.ย. 65 อยู่ที่ร้อยละ 2.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจาก
เดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 2.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เนื่องจากค่าขนส่งเป็นสาคัญ
ออสเตรเลีย
ดัชนีฯ PMI ภาคอุตสาหกรรม (เบื้องต้น) เดือน พ.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 55.3 จุด ลดลงจาก
เดือน เม.ย. 65 ที่อยู่ที่ระดับ 58.8 จุด เนื่องจากสถานการณ์น้าท่วม และการแพร่ระบาด
โควิด-19 ในออสเตรเลีย ดัชนีฯ PMI ภาคบริการ (เบื้องต้น) เดือน พ.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 53.0 จุด ลดลงจากเดือน
เม.ย. 65 ที่อยู่ที่ระดับ 56.1 จุด เนื่องจากสภาพอากาศของออสเตรเลียที่เลวร้าย ประกอบกับ
แรงกดดันการขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายจากธนาคารกลางออสเตรเลีย
อัตราการว่างงาน เดือน เม.ย. 65 อยู่ที่ร้อยละ 3.68 ของกาลังแรงงานรวม ลดลงจากเดือนก่อน
หน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 3.70 ของกาลังแรงงานรวม
ผลผลิตอุตสาหกรรม เดือน เม.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 7.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่ง
ขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 2.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ยอดค้าปลีก เดือน เม.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 4.7 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลงจาก
เดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 5.5 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน พ.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 67.81 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่
ที่ระดับ 71.77 จุด ธนาคารกลางเกาหลีใต้มีมติปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายที่ร้อยละ 1.75 ต่อปีจากเดิมอยู่ที่
ร้อยละ 1.50 ต่อปี และเป็นระดับสูงสุดนับตั้งแต่เดือน ก.ค. 62 เพื่อควบคุมอัตราเงินเฟ้อที่
เพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากราคาน้ามันและสินค้าโภคภัณฑ์ประเภทอื่น ๆ ที่ปรับตัวเพิ่มสูงขึ้น
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือน พ.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 102.6 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่
อยู่ที่ระดับ 103.8 จุด ดัชนีฯ PMI ภาคอุตสาหกรรม (เบื้องต้น) เดือน พ.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 54.6 จุด ลดลงจาก
เดือน เม.ย. 65 ที่อยู่ที่ระดับ 55.8 จุด เนื่องจากได้รับผลกระทบจากภาวะอุปทานชะงักงัน และ
สงครามระหว่างยูเครนและรัสเซีย
ดัชนีฯ PMI ภาคบริการ (เบื้องต้น) เดือน พ.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 51.8 จุด ลดลงจากเดือน
เม.ย. 65 ที่อยู่ที่ระดับ 58.9 จุด เนื่องจากภาคบริการมีความกังวลว่าความไม่แน่นอนของ
เศรษฐกิจและสงครามระหว่างยูเครนและรัสเซียจะส่งผลกระทบต่ออุปสงค์ของผู้บริโภคเครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน ดัชนี SETSETปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนสอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่น ๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน เช่น Nikkei 225 ญี่ปุ่น) CSI 300 เซี่ยงไฮ้) และ DJIA สหรัฐอเมริกา) เป็นต้น เมื่อวันที่ 26 พ.ค. 655ดัชนีปิดที่ระดับ 1,633.73 จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 23-26 พ.ค. 655อยู่ที่ 62,930.87ล้านบาทต่อวัน โดยนักลงทุนต่างชาติเป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่ นักลงทุนทั่วไปในประเทศ นักลงทุนสถาบันในประเทศ และนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์ เป็นผู้ขายสุทธิ ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 23 26 พ.ค. 655นักลงทุนต่างชาติ ซื้อหลักทรัพย์สุทธิ 5,762.48ล้านบาท
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุโดยรวมปรับตัวลดลงในช่วง -2 ถึง -19 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 3 ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 1.46 เท่าของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 23 26 พ.ค. 655กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ 11,835.58 ล้านบาทและหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 26 พ.ค. 6565กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ 35,633.91ล้านบาท
เงินบาทแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่ 26 พ.ค. 655เงินบาทปิดที่ 34.4.29 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ แข็งค่าขึ้นร้อยละ 0.0.98จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน ยูโร ริงกิต วอน ดอลลาร์สิงคโปร์ และหยวน ที่ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทแข็งค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค ส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) แข็งค่าขึ้นร้อยละ 0.23จากสัปดาห์ก่อน
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง