เศรษฐกิจไทย
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือน เม.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ
0.6 ต่อปี
? ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็กรวมภายในประเทศเดือน
เม.ย. 65 หดตัวที่ร้อยละ -8.7 ต่อปี
? ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน พ.ค. 65 ขยายตัวที่
ร้อยละ 15.7 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
เศรษฐกิจไทย
เศรษฐกิจต่างประเทศ
? GDP ออสเตรเลีย ไตรมาสที่ 1 ปี 65 ขยายตัวร้อยละ 3.3 เมื่อเทียบกับช่วง
เดียวกันปีก่อน
ภาคการเงิน
? ดุลบัญชีเดินสะพัดเดือน เม.ย. 65 ขาดดุลดุลที่ -3,350.6 ล้านดอลลาร์
สหรัฐ
? สินเชื่อในสถาบันการเงินเดือน เม.ย. 65 ขยายตัวร้อยละ 4.1 จากช่วง
เดียวกันปีก่อน เช่นเดียวกับเงินฝากในสถาบันการเงินขยายตัวร้อยละ 5.5
จากช่วงเดียวกันปีก่อน
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เดือน เม.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 0.6 ต่อปี และหดตัวร้อยละ
-0.3 เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลของฤดูกาล
ดัชนี MPI ในเดือน เม.ย. 64 อุตสาหกรรมสาคัญที่ขยายตัว ได้แก่ อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรม
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยางอื่นๆ อุตสาหกรรมเครื่องประดับเพชร
พลอยแท้ และอุตสาหกรรมชิ้นส่วนและแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ขยายตัวร้อยละ 12.8 12.5 23.4 35.9 และ
6.2 ต่อปี ตามลาดับ* ขณะที่อุตสาหกรรมสาคัญที่หดตัว ได้แก่ อุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์และ อุปกรณ์
ต่อพ่วง อุตสาหกรรมผลิตมอลต์และสุราที่ทาจากข้าวมอลต์ อุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ อุตสาหกรรม
น้ามันปาล์ม และอุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศ และชิ้นส่วน หดตัวร้อยละ -28.1 -22.7 -17.9 -16.1 และ
-8.6 ต่อปี ตามลาดับ* (*เรียงตามสัดส่วนใน MPI) ปริมาณการจาหน่ายเหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็ก
รวมภายในประเทศเดือน เม .ย. 65 หดตัวที่
ร้อยละ -8.7 ต่อปี และหดตัวร้อยละ -3.2 เมื่อ
เทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังปรับผลทางฤดูกาล
ปริมาณการจาหน่ายเหล็กในประเทศเดือน เม.ย. 65 หดตัวติดต่อกันเป็นเดือนที่ 6 จากปริมาณ
จาหน่ายเหล็กที่ใช้ในภาคการก่อสร้างหดตัว อาทิ เหล็กเส้นข้ออ้อย และเหล็กลวด หดตัวร้อยละ
-24.3 และ -1.1 ต่อปี ตามลาดับ เช่นเดียวกับเหล็กที่ใช้ในอุตสาหกรรมที่ชะลอลงเช่นกัน
โดยเฉพาะเหล็กแผ่นรีดเย็น หดตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ -29.7 จากระดับร้อยละ -16.1 ในเดือนก่อน
ทั้งนี้ สถานการณ์เงินเฟ้อและต้นทุนการผลิตที่เพิ่มขึ้น อาจส่งผลกระทบต่อปริมาณการจาหน่าย
เหล็กให้ชะลอลงต่อเนื่อง เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
4
ที่มา : กรมการขนส่งทางบก
ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน พ.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 15.7 เมื่อเทียบกับช่วง
เดียวกันของปีก่อน และเมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล ขยายตัวที่ร้อยละ 5.2
กลับมาขยายตัวได้ดีอีกครั้ง โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากรายได้เกษตรที่เพิ่มสูงขึ้นจากราคาและผลผลิตที่
ขยายตัวได้ดีในช่วงที่ผ่านมา ประกอบกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เริ่มทยอยปรับตัวดีขึ้นจากสถานการณ์การ
แพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ที่คลี่คลาย ขณะที่ปัจจัยที่ยังน่ากังวล ได้แก่ ราคาน้ามันที่ปรับตัวสูงขึ้นอย่าง
ต่อเนื่อง และปัญหาหนี้ครัวเรือนที่อยู่ในระดับสูง เครื่องชี้ภาคการเงิน
ดุลบัญชีเดินสะพัดเดือน เม.ย. 65 ขาดดุลดุลที่ -3,350.6 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หลังเกินดุลในเดือน
ก่อนหน้าที่อยู่ที่ 1,244.9 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
โดยเดือน เม.ย. 65 ดุลบริการ รายได้ และเงินโอน ขาดดุลที่ -4,438.8 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลเพิ่มขึ้นจาก
เดือนก่อนหน้า ขณะที่ดุลการค้า (ตามระบบ BOP) เกินดุลลดลงจากเดือนก่อนหน้ามาอยู่ที่ 1,088.2 ล้านดอลลาร์
สหรัฐ สาหรับดุลบัญชีเดินสะพัดในช่วง 4 เดือนแรกของปี 65 ขาดดุลรวม -4,962.1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ สินเชื่อในสถาบันการเงินเดือน เม.ย. 65 มียอด
คงค้าง 20.1 ล้านล้านบาท คิดเป็นการขยายตัว
ร้อยละ 4.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน หรือขยายตัวคงที่ที่ร้อยละ 0.3 จากเดือนก่อนหน้า
(หลังขจัดผลทางฤดูกาล) เมื่อแยกประเภทการขอ
สินเชื่อพบว่า สินเชื่อเพื่อธุรกิจขยายตัวเร่งขึ้นที่
ร้อยละ 6.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ขณะที่ สินเชื่อ
เพื่อการอุปโภคบริโภคขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ
3.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เงินฝากในสถาบันการเงินเดือน เม.ย. 65 มียอด
คงค้าง 24.0 ล้านล้านบาท คิดเป็นการขยายตัว
ที่ร้อยละ 5.5 จากช่วงเดียวกันปีก่อน หรือหากขจัดผลทางฤดูกาลแล้วหดตัวที่ร้อยละ
-0.2 จากเดือนก่อนหน้า โดยเงินฝากจากธนาคาร
พาณิชย์ขยายตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ
5.4 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ขณะที่ เงินฝากสถาบัน
การเงินเฉพาะกิจขยายตัวคงที่ที่ร้อยละ 5.4 จากช่วง
เดียวกันปีก่อน เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
จีน สหรัฐฯ
ที่มา: ฐานข้อมูล CEIC และ Tradingeconomics รวมรวบโดย สศค.
ยูโรโซน
อัตราเงินเฟ้อ เดือน พ.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 8.1 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน เพิ่มขึ้นจาก
เดือน เม.ย. 65 ที่อยู่ที่ร้อยละ 7.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน โดยอัตราเงินเฟ้อยังคง
ได้รับแรงหนุนจากราคาพลังงานและอาหารที่เพิ่มขึ้นเป็นสาคัญ
อัตราการว่างงาน เดือน เม.ย. 65 อยู่ที่ร้อยละ 6.8 ของกาลังแรงงานรวม ไม่เปลี่ยนแปลงจาก
เดือน มี.ค. 65 ที่อยู่ที่ร้อยละ 6.8 ของกาลังแรงงานรวม และสอดคล้องกับที่ตลาดคาดการณ์
ไว้เช่นกัน
ยอดขายบ้านมือสอง เดือน เม.ย. 65 หดตัวที่ร้อยละ -2.4 จากเดือนก่อนหน้า (ขจัดผลทาง
ฤดูกาลแล้ว) หดตัวชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวร้อยละ -3.0 เป็นผลจากราคาบ้าน
ที่สูง ขึ้น แ ล อัต ร ก ร จา น อ ง ที่สูง ขึ้น อ ย่า ง ร ว ด เ ร็ว ท ให้กิจ ก ร ร ม ข อ ง ผู้ซื้อ ล ด ล ง ทั้ง นี้
หากพิจารณาเทียบเป็นรายปีจะพบว่ายอดขายบ้านมือสองในเดือนนี้ขยายตัวที่ร้อยละ 5.9
จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ราคากลางบ้านมือสอง เดือน เม.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 14.8 จากเดือนก่อนหน้า (ขจัดผล
ทางฤดูกาลแล้ว) ชะลอลงจากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 14.9 โดยราคากลางบ้านปรับตัว
เพิ่มขึ้นในทุกภูมิภาค
ดัชนี PMI ภาคอุตสาหกรรม (ISM) เดือน พ.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 56.1 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือน
ก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 55.4 จุด สวนทางกับคาดการณ์ของตลาดที่คาดว่าจะลดลงมา
อยู่ที่ระดับ 54.5 จุด
ดัชนี PMI ภาคอุตสาหกรรม (NBS) เดือน พ.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 49.6 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือน
ก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 47.4 จุด ท่ามกลางการผ่อนคลายข้อจากัดโควิด-19 ในเมืองสาคัญ
ดัชนี PMI ภาคอุตสาหกรรม (Caixin) เดือน พ.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 49.1 จุด เพิ่มขึ้นจาก
เดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 46.0 จุด เป็นผลจากผลผลิตและคาสั่งซื้อใหม่ที่มีการปรับตัว
ที่ดีขึ้น
ดัชนี PMI นอกภาคอุตสาหกรรม (Caixin) เดือน พ.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 47.8 จุด เพิ่มขึ้น
จากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 41.9 จุด โดยมีการปรับตัวเพิ่มขึ้นของดัชนีในหมวดคาสั่งซื้อ
ใหม่ คาสั่งซื้อเพื่อการส่งออก และความเชื่อมั่น เป็นสาคัญ
ดัชนี PMI ภาคการผลิต เดือน พ.ค. 65 ลดลงเล็กน้อยมาอยู่ที่ระดับ 53.3 จุด เนื่องจากยอด
ออเดอร์จากต่างประเทศลดลง และห่วงโซ่อุปทานได้รับผลกระทบจากสงครามในยูเครน
ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (CFI) เดือน พ.ค. 65 เพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ระดับ 34.1 จุด จาก
ที่รัฐบาลหยุดการใช้มาตรการกึ่งฉุกเฉิน และสถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด-19 ลดลง เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย เกาหลีใต้
ดัชนี PMI ภาคการผลิต เดือน พ.ค. 65 ปรับเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ระดับ 54.7 จุด เนื่องจาก
การส่งออกและยอดคาสั่งซื้อส่งออกขยายตัวเร่งขึ้นจากสถานการณ์โควิด-19 ที่ปรับดีขึ้น
ราคาผู้ผลิตในเดือน เม.ย. 65 ขยายตัวร้อยละ 11.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า หลังจาก
ที่ขยายตัวร้อยละ 11.6 จากช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า ซึ่งเป็นการขยายตัวสูงที่สุดนับตั้งแต่
เดือน พ.ย. 64 ท่ามกลางราคาสินค้าโภคภัณฑ์ที่เพิ่มสูงขึ้น
ออสเตรเลีย
GDP ไตรมาสที่ 1 ปี 65 ขยายตัวร้อยละ 3.3 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจาก
ไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวร้อยละ 4.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันในปีก่อน
มูลค่าการส่งออก เดือน เม.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 26.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลง
จากเดือนก่อนหน้า ที่ขยายตัวที่ร้อยละ 30.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน
มูลค่าการนาเข้า เดือน เม.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 21.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ชะลอลงจาก
เดือนก่อนหน้า ที่ขยายตัวที่ร้อยละ 22.8 จากช่วงเดียวกันปีก่อน
ดุลการค้า เดือน เม.ย. 65 เกินดุลที่ระดับ 12.6 พันล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย เพิ่มขึ้นจากเดือน
ก่อนหน้าที่เกินดุลที่ระดับ 12.0 พันล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย
อินโดนีเซีย
ดัชนี PMI ภาคการผลิต เดือน พ.ค. 65 ลดลงมาอยู่ที่ระดับ 50.8 จุด จากเดือนก่อนหน้าซึ่ง
อยู่ที่ระดับ 51.9 จุด ท่ามกลางข้อจากัดด้านอุปทานที่ขาดแคลนและการขนส่งที่ล่าช้า
ยอดค้าปลีก เดือน เม.ย. 65 กลับมาขยายตัวที่ร้อยละ 8.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
หลังจากเดือนก่อนหน้าหดตัวที่ร้อยละ -16.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน และเป็นระดับที่สูง
ที่สุดในรอบ 6 เดือน
ฮ่องกง
อัตราดอกเบี้ยนโยบาย เดือน พ.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 1.75 เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.25 เพื่อลดแรง
กดดันจากภาวะเงินเฟ้อ
ดัชนี PMI ภาคการผลิต เดือน พ.ค. 65 ลดลงมาอยู่ที่ระดับ 51.8 จากผลกระทบนโยบาย
การจัดการโควิด-19 ของจีน และภาวะสงครามในยูเครน
อินเดีย
อัตราดอกเบี้ยนโยบาย เดือน พ.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 4.4 เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.40 เนื่องจาก
แรงกดดันจากภาวะเงินเฟ้อ เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน ดัชนี SETSETปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนสอดคล้องกับตลาดหลักทรัพย์อื่น ๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน เช่น Nikkei 225 ญี่ปุ่น) CSI 300 เซี่ยงไฮ้) HISHIS(ฮ่องกง)และ DJIA
สหรัฐอเมริกา) เป็นต้น เมื่อวันที่ 11มิ.ย. 655ดัชนีปิดที่ระดับ 1,660.0160.01จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 3030พ.ค. 6565ถึง 11มิ.ย. 655อยู่ที่ 78,4357.778,4357.7ล้านบาทต่อวัน โดยนักลงทุนสถาบันในประเทศและนักลงทุนต่างชาติเป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่ นักลงทุนทั่วไปในประเทศและนักลงทุนบัญชีบริษัทหลักทรัพย์เป็นผู้ขายสุทธิ ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 30 พ.ค. 65 ถึง 1 มิ.ย. 65 นักลงทุนต่างชาติ ซื้อหลักทรัพย์สุทธิ 8,015.08 ล้านบาท
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุต่ากว่า 2 ปี และอายุ 14 2020ปีปรับตัวลดลงในช่วง -11ถึง -3 bpsbpsและ -4 ถึง -6 bpsbpsตามลาดับ ขณะที่ อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 2 -13 ปี โดยรวมปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 1 ถึง 9 bpsbpsโดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตรรัฐบาลอายุ 1111ปี ซึ่งมีนักลงทุนสนใจ 3.033.03เท่าของวงเงินประมูล ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 30 พ.ค. 65 ถึง 1 มิ.ย. 65 กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออกจากตลาดพันธบัตรสุทธิ -655.86 ล้านบาทและหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 11มิ.ย. 6565กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลเข้าในตลาดพันธบัตรสุทธิ 33 785.69ล้านบาท
เงินบาทอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่ 11มิ.ย. 655เงินบาทปิดที่ 34.4.33บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ อ่อนค่าลงร้อยละ -0.37จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ เงินสกุลเยน และหยวน ที่ปรับตัวอ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ขณะที่เงินสกุล ยูโร ริงกิตวอน และดอลลาร์สิงคโปร์ ปรับตัวแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ เงินบาทอ่อนค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค ส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท (NEERNEER) อ่อนค่าลงร้อยละ -0.27จากสัปดาห์ก่อน
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง