เศรษฐกิจไทย
Executive Summary
? อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือน ก.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 7.61 ต่อปี เช่นเดียวกับ
อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานขยายตัวที่ร้อยละ 2.99 ต่อปี
? ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน ก.ค. 65 ขยายตัวร้อยละ 6.3 เมื่อเทียบกับ
ช่วงเดียวกันของปีก่อน
? ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน ก.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ
16.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
? หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน มิ.ย. 65 อยู่ที่ร้อยละ 61.06 ของ GDP
เศรษฐกิจไทย
เศรษฐกิจต่างประเทศ
? GDP อินโดนีเซีย ไตรมาสที่ 2 ปี 65 ขยายตัวร้อยละ 5.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียว
กันของปีก่อน
? GDP ฮ่องกง ไตรมาส 2 ปี 65 (เบื้องต้น) หดตัวที่ร้อยละ -1.4 จากช่วงเดียวกัน
ของปีก่อน
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
3
ที่มา : กระทรวงพาณิชย์
ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน ก.ค. 65 ขยายตัวร้อยละ 6.3 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างในเดือน ก.ค. 65 ขยายตัวเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อน โดยเป็นการขยายตัวในทุกหมวด
สินค้า โดยเฉพาะ เหล็ก ซีเมนต์ และคอนกรีตซึ่งเป็นวัสดุหลักในหมวดก่อสร้าง (ทั้ง 3 หมวดคิดเป็นสัดส่วน
ร้อยละ 53) ซึ่งขยายตัวร้อยละ 9.1 7.7 และ 5.5 จากเดือนก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 6.2 7.8 และ 5.7 ตามล ดับ
โดยมีปัจจัยมาจากต้นทุนที่สูงขึ้นตามราคาวัตถุดิบและราคาพลังงานที่ยังอยู่ในระดับสูง
Construction Materials Price Index : CMI
-5
0
5
10
15
90
100
110
120
130
Jan-20
Apr-20
Jul-20
Oct-20
Jan-21
Apr-21
Jul-21
Oct-21
Jan-22
Apr-22
Jul-22
%YoY Index Index %YoY Indicators
(%yoy)
2021 2022
ทั้งปี Q1 Q2 Jun Jul YTD
ดัชนีราคาวัสดุ
ก่อสร้าง 8.0 7.2 6.9 5.5 6.3 7.0
อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือน ก.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 7.61 ต่อปี
อัตราเงินเฟ้อเดือน ก.ค. 65 สูงขึ้นร้อยละ 7.61 (YoY) ชะลอตัวลงจากเดือน มิ.ย. 65 (ที่ร้อยละ 7.66) หรือ
คิดเป็นการลดลงร้อยละ -0.2 ต่อเดือน (MoM) ซึ่งเป็นการลดลงครั้งแรกตั้งแต่เดือน ม.ค. 65 เนื่องจากราคา
น้ มันดิบในตลาดที่ปรับตัวลดลง ส่งผลต่อราคาน้ มันเชื้อเพลิงให้ปรับตัวลดลง ทั้งนี้ หมวดสินค้าหลักที่ส่งผล
กระทบต่อเงินเฟ้อในเดือน ก.ค. 65 ได้แก่ 1) หมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ ร้อยละ 8.0 2)
หมวดไฟฟ้า เชื้อเพลิง น้ ประปาและแสงสว่าง ร้อยละ 5.5 3) หมวดน้ มันเชื้อเพลิง ค่ากระแสไฟฟ้า และ
ก๊าซหุงต้มเพิ่มขึ้นร้อยละ 33.82 และเมื่อหักอาหารสดและพลังงานออกแล้ว เงินเฟ้อพื้นฐานขยายตัวที่ร้อยละ
2.99 และเฉลี่ย 7 เดือน (ม.ค.- ก.ค. 65) เงินเฟ้อทั่วไปสูงขึ้นร้อยละ 5.8 (AoA) และเงินเฟ้อพื้นฐานสูงขึ้น
ร้อยละ 2.01 (AoA)
เครื่องชี้เศรษฐกิจไทย
4
ที่มา : กรมการขนส่งทางบก
ปริมาณรถจักรยานยนต์จดทะเบียนใหม่ในเดือน ก.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 16.4 เมื่อเทียบกับช่วง
เดียวกันของปีก่อน แต่เมื่อเทียบกับเดือนก่อนหน้าหลังขจัดผลทางฤดูกาล หดตัวที่ร้อยละ -5.5
ส่วนหนึ่งเป็นผลจากฐานต่ ในปีก่อนที่มีการแพร่ระบาดของโควิด-19 สายพันธุ์เดลต้า ขณะที่ปัจจัยสนับสนุน
อื่น ๆ ได้แก่ กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ปรับตัวดีขึ้นจากความกังวลต่อสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค
โควิด-19 ที่คลี่คลาย รวมถึงการผ่อนคลายมาตรการควบคุมโรค การเปิดรับนักท่องเที่ยวต่างชาติที่มีทิศทาง
ดีขึ้น และรายได้เกษตรกรที่ขยายตัวได้ดีอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ ราคาน้ มันขายปลีกในประเทศที่ปรับตัว
ลดลงในเดือนนี้ และการเปิดตัวรถจักรยานยนต์รุ่นใหม่ ยังส่งผลดีต่อการตัดใจซื้อรถจักรยานยนต
หนี้สาธารณะคงค้าง ณ สิ้นเดือน มิ.ย. 65 มีจ นวนทั้งสิ้น 10,204,305 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ
61.06 ของ GDP และเมื่อเปรียบเทียบกับเดือนก่อนหน้า พบว่า หนี้สาธารณะคงค้างเพิ่มขึ้นสุทธิ
88,376 ล้านบาท
ทั้งนี้ สถานะหนี้สาธารณะของไทยถือว่ามีความมั่นคง สะท้อนได้จากสัดส่วนหนี้สาธารณะต่อ GDP ยังอยู่ใน
ระดับต่ กว่ากรอบวินัยในการบริหารหนี้สาธารณะที่ตั้งไว้ไม่เกินร้อยละ 70 ของ GDP และหนี้สาธารณะส่วนใหญ่
เป็นหนี้ระยะยาว โดยแบ่งตามอายุคงเหลือคิดเป็นร้อยละ 85.07 ของยอดหนี้สาธารณะและเป็นหนี้ในประเทศ
คิดเป็นร้อยละ 98.31 ของยอดหนี้สาธารณะ
เครื่องชี้ภาคการเงิน
ดุลบัญชีเดินสะพัดเดือน มิ.ย. 65 ขาดดุลที่ -1,873.32 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หลังขาดดุลในเดือน
ก่อนหน้าที่ -3,716.16 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
โดยเดือน มิ.ย. 65 ดุลบริการ รายได้ และเงินโอน ขาดดุลที่ ?3,931.94 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลลดลงจาก
เดือนก่อนหน้า ขณะที่ดุลการค้า (ตามระบบ BOP) เกินดุลเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้ามาอยู่ที่ 2,058.62
ล้านดอลลาร์สหรัฐ ส หรับดุลบัญชีเดินสะพัดในช่วง 6 เดือนแรกของปี 65 ขาดดุลรวม -10,835.74
ล้านดอลลาร์สหรัฐ
Current Account
5
ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย
สินเชื่อในสถาบันการเงินเดือน มิ.ย. 65
มียอดคงค้าง 20.2 ล้านล้านบาท คิดเป็น
การขยายตัวร้อยละ 4.1 จากช่วงเดียวกันปีก่อน
เงินฝากในสถาบันการเงินเดือน มิ.ย. 65
มียอดคงค้าง 24.0 ล้านล้านบาท คิดเป็น
การขยายตัวที่ร้อยละ 6.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน
หรือขยายตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ 0.4 จากเดือน
ก่อนหน้า (หลังขจัดผลทางฤดูกาล) เมื่อแยก
ประเภทการขอสินเชื่อพบว่า สินเชื่อเพื่อธุรกิจ
ขยายตัวเร่งขึ้นที่ร้อยละ 6.2 จากช่วงเดียวกันปีก่อน
ขณะที่ สินเชื่อเพื่อการอุปโภคบริโภคขยายตัว
ชะลอลงที่ร้อยละ 2.8 จากช่วงเดียวกันปีก่อน หรือหากขจัดผลทางฤดูกาลแล้วขยายตัวที่ร้อยละ
0.6 จากเดือนก่อนหน้า โดยเงินฝากจากธนาคาร
พาณิชย์ขยายตัวเร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ
5.6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ขณะที่ เงินฝากสถาบัน
การเงินเฉพาะกิจขยายตัวชะลอลงที่ร้อยละ 5.5
จากช่วงเดียวกันปีก่อน
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
มูลค่าการส่งออกเดือน มิ.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 24.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้น
จากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 23.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
มูลค่าการน เข้าเดือน มิ.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 18.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลง
จากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 24.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ดุลการค้าเดือน มิ.ย. 65 ขาดดุลที่ -1.0 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลลดลงจากเดือน
ก่อนหน้าที่ -1.1 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ
จ นวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกรายสัปดาห์ (24 - 30 ก.ค. 65) อยู่ที่ระดับ 2.60
แสนราย ปรับลดลงจากสัปดาห์ก่อนหน้าที่ระดับ 2.54 แสนราย และสูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์
เอาไว้ ทางด้านจ นวนผู้ยื่นขอรับสวัสดิการว่างงานระยะเฉลี่ย 4 สัปดาห์ (4 week moving
average) ซึ่งขจัดความผันผวนรายสัปดาห์แล้ว ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อนมาอยู่ที่
2.49 แสนราย
ดัชนีฯ PMI ภาคอุตสาหกรรม (ISM) เดือน ก.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 52.8 จุด ลดลงจากเดือน
ก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 53.0 จุด ลดลงมากกว่าคาดการณ์ของตลาดที่คาดว่าจะลดลงมาอยู่ที่
ระดับ 52.0 จุด
ดัชนีฯ PMI นอกภาคอุตสาหกรรม (ISM) เดือน ก.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 56.7 จุด เพิ่มขึ้นจาก
เดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 55.3 จุด และสูงกว่าคาดการณ์ของตลาดที่คาดว่าจะอยู่ที่ระดับ
53.5 จุ
ดัชนีฯ PMI ภาคอุตสาหกรรม (Caixin) เดือน ก.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 50.4 จุด ลดลงจาก
เดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 51.7 จุด
ดัชนีฯ PMI ภาคบริการ (Caixin) เดือน ก.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 55.5 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือน
ก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 54.5 จุด ท่ามกลางสถานการณ์โควิด-19 ที่ปรับตัวดีขึ้นหลังจาก
การผ่อนคลายมาตรการล็อกดาวน์ และมีค สั่งซื้อใหม่เพิ่มขึ้นมากที่สุดนับตั้งแต่เดือน
ต.ค. 64
ดัชนีฯ PMI ภาคการผลิต เดือน ก.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 52.1 จุด ลดลงเล็กน้อยจากระดับ
52.7 จุด ในเดือนก่อนหน้า นับเป็นระดับที่ต่ สุดในรอบ 10 เดือน เนื่องจากราคาพลังงานและ
ค่าจ้างที่เพิ่มขึ้นส่งผลให้แรงกดดันจากเงินเฟ้อยังคงมีอยู่ต่อเนื่อง
ดัชนีฯ PMI ภาคบริการ เดือน ก.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 50.3 สะท้อนจากกิจกรรมภาคบริการ
ที่ขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 4 นับจากการผ่อนคลายมาตรการต่อโควิด-19 ค สั่งซื้อใหม่
และการจ้างงานที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
เครื่องชี้เศรษฐกิจต่างประเทศ
ดัชนีฯ PMI ภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 49.8 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้า
ที่อยู่ที่ระดับ 52.1 จุด จากผลผลิตและยอดค สั่งซื้อใหม่ที่ลดลง เป็นส คัญ
อัตราการว่างงาน เดือน มิ.ย. 65 อยู่ที่ร้อยละ 6.6 ของก ลังแรงงานรวม ไม่เปลี่ยนแปลงเป็น
เดือนที่ 2 ติดต่อกัน
ยอดค้าปลีก เดือน มิ.ย. 65 หดตัวร้อยละ 3.7 จากช่วงเดียวกันปีก่อนหน้า และนับเป็น
การหดตัวครั้งแรกตั้งแต่เดือน ก.พ. 64 และหดตัวมากกว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่
ร้อยละ 1.7
GDP ไตรมาสที่ 2 ปี 65 ขยายตัวร้อยละ 5.4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้น
จากไตรมาสก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 5.2 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยได้รับ
แรงสนับสนุนจากปัจจัยการบริโภคที่แข็งแกร่งเนื่องจากการผ่อนคลายมาตรการ COVID-19
ดัชนีฯ PMI ภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 51.3 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือน
ก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 50.2 จุด สะท้อนถึงภาคการผลิตที่ขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 11
จากการเติบโตของกิจกรรมโรงงานและการเพิ่มขึ้นของผลผลิตและยอดค สั่งซื้อใหม่
มาเลเซีย
ดัชนีฯ PMI ภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 50.6 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อน
หน้าที่อยู่ที่ระดับ 50.4 จุด สะท้อนถึงภาคการผลิตที่ขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3 จาก
การเพิ่มขึ้นของยอดค สั่งซื้อใหม่ เป็นส คัญ
ฟิลิปปินส์
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ก.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 6.4 ต่อปี เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ
6.1 ต่อปี และถือว่าเป็นอัตราที่สูงสุดนับตั้งแต่เดือน ต.ค. 61 สูงกว่าที่ตลาดคาดการณ์เอาไว้ที่
ร้อยละ 6.2 ต่อปี
ดัชนีฯ PMI ภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 50.8 จุด ลดลงจากเดือนก่อน
หน้าที่อยู่ที่ระดับ 53.8 จุด จากการหดตัวที่รุนแรงของผลผลิตและยอดค สั่งซื้อใหม่
ฮ่องกง
GDP ไตรมาส 2 ปี 65 (เบื้องต้น) หดตัวที่ร้อยละ -1.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัว
ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -3.9 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ยอดค้าปลีก เดือน มิ.ย. 65 หดตัวที่ร้อยละ -4.1 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวชะลอลง
จากเดือนก่อนหน้าที่หดตัวที่ร้อยละ -4.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ธนาคารกลางอินเดียมีมติขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายมาอยู่ที่ร้อยละ 5.4 ต่อปี จากเดิมที่อยู่ที่
ร้อยละ 4.9 ต่อปี
ดัชนีฯ PMI ภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 56.4 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อน
หน้าที่อยู่ที่ระดับ 53.9 จุด
ดัชนีฯ PMI ภาคบริการ เดือน ก.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 55.5 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่
ระดับ 59.2 จุด
มูลค่าการส่งออก เดือน ก.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 9.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้น
จากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 5.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
มูลค่าการน เข้า เดือน ก.ค. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 21.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้น
จากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 19.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ดุลการค้า เดือน ก.ค. 65 ขาดดุลอยู่ที่ระดับ -4.67 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ขาดดุลเพิ่มขึ้น
จากเดือนก่อนหน้าที่ขาดดุลที่ระดับ -2.58 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
ดัชนีฯ PMI ภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 49.8 จุด ลดลงเป็นเดือนที่ 3
ติดต่อกัน จากการลดการผลิตของโรงงาน เนื่องจากขาดแคลนวัตถุดิบและต้นทุนที่เพิ่มขึ้น
อัตราเงินเฟ้อ เดือน ก.ค. 65 อยู่ที่ร้อยละ 6.3 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เพิ่มขึ้นจากเดือน
ก่อนหน้าที่อยู่ที่ร้อยละ 6.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากราคาพลังงานและอาหาร
ที่เพิ่มสูงขึ้น
ไต้หวัน
ดัชนีฯ PMI ภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 44.6 จุด ลดลงจากเดือน
ก่อนหน้าที่อยู่ที่ระดับ 49.8 จุด
ธนาคารกลางอินเดียมีมติขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายมาอยู่ที่ร้อยละ 5.4 ต่อปี จากเดิมที่อยู่ที่
ร้อยละ 4.9 ต่อปี
ดัชนีฯ PMI ภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 56.4 จุด เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อน
หน้าที่อยู่ที่ระดับ 53.9 จุด
ดัชนีฯ PMI ภาคบริการ เดือน ก.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 55.5 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่
ระดับ 59.2 จุด
อินเดีย สหราชอาณาจักร
ดัชนีฯ PMI ภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 52.1 จุด สะท้อนจากการผลิต
ในโรงงานที่ลดต่ สุดนับจาก มิ.ย. 63
ดัชนีฯ PMI ภาคบริการ เดือน ก.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 52.6 จุด สะท้อนจากกิจกรรม
ภาคบริการที่ขยายตัวชะละลงมากที่สุดในรอบ 17 เดือน จากปัจจัยแรงกดดันของเงินเฟ้อ และ
ต้นทุนการครองชีพที่เพิ่มขึ้น
ธนาคารกลางออสเตรเลียมีมติขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายมาอยู่ที่ร้อยละ 1.85 ต่อปี จาก
การประชุมในเดือน ส.ค. 65
ยอดค้าปลีก เดือน มิ.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 12.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้นจาก
เดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 10.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ดัชนีฯ PMI ภาคอุตสาหกรรม เดือน ก.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 55.7 จุด ลดลงจากเดือนก่อน
หน้าที่อยู่ที่ระดับ 56.2 จุด แต่ยังคงนับเป็นเดือนที่ 26 ติดต่อกันของการปรับตัวดีขึ้นในภาค
การผลิต
ดัชนีฯ PMI ภาคบริการ เดือน ก.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 50.9 จุด ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่อยู่ที่
ระดับ 52.6 จุด
มูลค่าการส่งออก เดือน มิ.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 40.8 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน เร่งขึ้น
จากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 37.0 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
มูลค่าการน เข้า เดือน มิ.ย. 65 ขยายตัวที่ร้อยละ 28.2 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ชะลอลง
จากเดือนก่อนหน้าที่ขยายตัวที่ร้อยละ 31.4 จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ดุลการค้า เดือน มิ.ย. 65 เกินดุลอยู่ที่ระดับ 21.8 พันล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย เพิ่มขึ้นจาก
เดือนก่อนหน้าที่เกินดุลที่ระดับ 17.1 พันล้านดอลลาร์ออสเตรเลีย
เครื่องชี้ตลาดเงิน ตลาดอัตราแลกเปลี่ยน
ดัชนี SET ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน สอดคล้องกับตลาด
หลักทรัพย์อื่น ๆ ในภูมิภาคที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ก่อน เช่น
Nikkei225 (ญี่ ปุ่ น ) S&P/ASX 200 (อ อ ส เ ต ร เ ลี ย ) แ ล
STI (สิงคโปร์) เป็นต้น เมื่อวันที่ 4 ส.ค. 65 ดัชนีปิดที่ระดับ 1,598.75
จุด ด้วยมูลค่าซื้อขายเฉลี่ยระหว่างวันที่ 1 - 4 ส.ค. 65 อยู่ที่
65,426.80 ล้านบาทต่อวัน โดยนักลงทุนต่างชาติ และนักลงทุนบัญชี
บริษัทหลักทรัพย์เป็นผู้ซื้อสุทธิ ขณะที่ นักลงทุนทั่วไปในประเทศและ
นักลงทุนสถาบันในประเทศเป็นผู้ขายสุทธิ ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 1 ? 4
ส.ค. 65 นักลงทุนต่างชาติ ซื้อ หลักทรัพย์สุทธิ3,223.33 ล้านบาท
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 1 ? 6 เดือน และอายุ 10 ? 20
ปี ส่วนใหญ่ปรับตัวเพิ่มขึ้นในช่วง 1 - 5 bps และ 1 ? 6 bps ตามล ดับ
ขณะที่ อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลอายุ 2 - 9 ปี ปรับตัวลดลง
ในช่วง -2 ถึง -13 bps โดยในสัปดาห์นี้นักลงทุนมีการประมูลพันธบัตร
รัฐบาลอายุ 6 ปี และ 50 ปี ซึ่งนักลงทุนสนใจ 3.2 และ 3.0 เท่า
ของวงเงินประมูล ตามล ดับ ทั้งนี้ ระหว่างวันที่ 1 ? 4 ส.ค 65 กระแส
เงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออก จากตลาดพันธบัตรสุทธิ
-1.619.44 ล้านบาท และหากนับจากต้นปีจนถึงวันที่ 4 ส.ค. 65
กระแสเงินทุนของนักลงทุนต่างชาติ ไหลออก จากตลาดพันธบัตรสุทธิ
-13,340.98 ล้านบาท
เงินบาทแข็งค่าขึ้นจากสัปดาห์ก่อน โดย ณ วันที่ 4 ส.ค. 65 เงินบาท
ปิดที่ 36.15 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ แข็งค่าขึ้นร้อยละ 1.82
จากสัปดาห์ก่อนหน้า สอดคล้องกับเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค อาทิ
เงินสกุลเยน ยูโร ริงกิต วอน และดอลลาร์สิงคโปร์ ที่ปรับแข็งค่าขึ้นจาก
สัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์ ขณะที่ เงินสกุลหยวน ปรับตัว
อ่อนค่าลงจากสัปดาห์ก่อนหน้า เมื่อเทียบกับดอลลาร์ ทั้งนี้
เงินบาทแข็งค่ามากกว่าเงินสกุลอื่น ๆ ในภูมิภาค ส่งผลให้ดัชนีค่าเงินบาท
(NEER) แข็งค่าขึ้นร้อยละ 1.64 จากสัปดาห์ก่อน
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง